คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 16: ร่วมใจกันช่วยจิตวิญญาณให้รอด


บทที่ 16

ร่วมใจกันช่วยจิตวิญญาณให้รอด

หลักธรรมแห่งความสัมพันธ์กันของคาสนาจักรข่ายให้ศาสนาจักรและ ครอบครัวร่วมมือกันทำงานเพื่อช่วยจิตวิญญาณให้รอดอย่างไร?

บทนำ

ขณะรับใช้เป็นสมาซิกในโควรัมอัครสาวกสิบสอง ฮาโรลด์ บี. ลี ได้รับมอบหมายจาก ฝ่ายประธานสูงสุด’ให้ควบคุมดูแลการทำงานชิ้นหนึ่งเกี่ยวกับการทำ’ให้โปรแกรมฑื้ง็ หมดของศาสนาจักรมีศูนย์กลางอยู่ที่จุดประสงค์สูงสุดของพระกิตติคุณของพระเยซู คริสต์ นั่นคือ “ที่จะทำให้เกิดความเป็นอมตะและชีวิตนิรันดร์ฃองมนุษย์” (โมเสส 1:39) งานนี้เรียกว่าความสัมพันธ์กัน ความสัมพันธ์กันครอบคลุมถึง การเน้นความ สำคัญของครอบครัวและบ้าน โดยต้องแน่ใจว่าองค์การช่วย โปรแกรม และกิจกรรม ต่างๆ ของศาสนาจักรเสริมสร้างและสนับสนุนครอบครัว อีกทั้งทำให้องค์การและ การทำงานทั้งหมดของศาสนาจักรอยู่ภายใต้การนำของฐานะปุโรหิต ในทศวรรษที่ 1960 เราไต่ใช้หลายขั้นตอนเพื่อทำให้จุดประสงค์เหล่านี้บรรลุผลสำเร็จ รวมทั้งเน้น เรื่องการสังสรรค์ในครอบครัวและทบทวนหลักสูตรของศาสนาจักรเพื่อให้แน่ใจว่า หลักสูตรดังกล่าวเสริมความเข้มแข็งให้แก่บ้านและครอบครัว ความสัมพันธ์กันใน ศาสนาจักรยังคงดำเนินต่อไปในทุกวันนี้ภายใต้การน่าของฝ่ายประธานสูงสุด โดยทำ ตามหลักธรรมที่พระเจ้าทรงเป็ดเผย

ประธานลีสอนว่า “เราต้องทำทุกสิง ‘ด้วยเห็นแก่รัศมีภาพของพระผู้เป็นเจ้าอย่าง เดียว” [ค.พ. 82:19] และรัศมีภาพของพระผู้เป็นเจ้าคืออะไร? ดังที่พระเจ้าทรง อธิบายต่อโมเสส รัศมีภาพของพระผู้เป็นเจ้า คือ ที่จะทำให้เกิดความเป็นอมตะและ ชีวิตนิรันดร์ฃองมนุษย์ … เราระลึกถึงคำกล่าวเหล่านี้เสมอขณะทำงานทั้งหมดของรา ใน … โปรแกรมความสัมพันธ์กัน สรุปก็คือ วัตถุประสงค์เพียงสองประการในความ สัมพันธ์กัน คือ เพื่อช่วยให้ฐานะปุโรหิตปฏิ บัดีงานตามที่พระเจ้าทรงกำหนดไว้อย่าง ชัดเจน โดยมีองค์การช่วยเช้ามาเกี่ยวช้องด้วย และสอง เพื่อให้บิดามารดาและครอบ ครัวขยายการเรียกของเขาตามที่พระเจ้าทรงบัญชา และด้วยเหตุนี้เราจึงเห็นว่าทุกสิง ที่ทำลงไปควรทำโดยมีคำถามข้อหนึ่งอยู่ในใจ นั่นคือ กิจกรรมนี้เป็นไปเพื่อประโยชน์ ของอาณาจักรหรือไม่ เรากำลังทำด้วยเห็นแก่จุดประสงค์เบื้องต้นของการจัดระเบียบ ของพระเจ้าแค่อย่างเดียว—เพื่อช่วยจิตวิญญาณให้รอด ตลอดจนทำให้เกิดความ เป็นอมตะและชีวิตนิรันดร์ฃองมนุษย์หรือไฝ?”1

คำสอนของฮาโรลด์ บี. ลี

ศาสนาจักรจะช่วย “ทำให้เกิดความเป็นอมตะ และชีวิตนิรันดร์ฃองมนุษย์” ได้อย่างไร?

เพื่อเตรียมเราใหํได้รับการต้อนรับในที่ประทับของพระเจ้า เราต้องมีศาสนาจักร สิง ที่อัครสาวกเปาโลพูดถึง—ให้บางคนเป็นอัครสาวก ศาสดา ผู้สอน ผู้เผยแพร่ข่าว ประเสริฐ (ปัจจุบันคือผู้ประสาทพร) —อีกนัยหนึ่งคือ จัดระเบียบศาสนาจักร-มีไว้ เพื่ออะไร? “เพื่อเตรียมธรรมิกซนให้เป็นคนที่จะรับใช้ เพื่อเสริมสร้างพระกายของ พระคริสต์ให้จำเริญขึ้น จนกว่าเราทุกคนจะบรรลุถึงความเป็นนํ้าหนึ่งใจเดียวกันใน ความเชื่อและในความรู้ถึงพระบุตรของพระเจ้า จนกว่าเราจะโตเป็นผู้ใหญ่เต็มที่ (เป็นคนดีพร้อม)” [ดู เอเฟซัส 4:11-13] พระเจ้าทรงทราบว่าเราไม่ดีพร้อม จึงไต้ ประทานศาสนาจักรเพื่อช่วยให้เราดีพร้อม2

ธุระของศาสนาจักรไม่ใช่เพื่อก่อตั้งองค์กรทางสังคมหรือไม่ไต้มีไว้เพื่อจุดประสงค์ อื่นที่นอกเหนือจากการช่วยจิตวิญญาณให้รอด3

จุดประสงค์ [ของศาสนาจักรคือ] เพื่อทำใหํชีวิตของคนที่มีสมาซิกภาพในศาสนา จักรดีพร้อม … เพื่อให้ความรู้แก่สมาชิกภาพขององค์กรหรือสมาชิกของศาสนาจักร ในเรื่องคำสอน อันจะทำให้สมาชิกเป็นหนึ่งเดียวกันในศรัทธาและในความรู้เรื่องพระ บุตรของพระผู้เป็นเจ้าจนเป็นคนดีพร้อม ซึ่งความรู้นั้นเป็นสิงที่พระอาจารย์ ตรัสไว้ด้วยพระองค์เองในคำสวดอ้อนวอน [ที่ควรจดจำ] ในพันธสัญญาใหม่ว่า “และนี่แหละคือชีวิตนิรันดร คือที่เขารู้จักพระองค์ ผู้ทรงเป็นพระเจ้าเที่ยงแห้องค์ เดียวและรู้จักพระเยซูคริสต์ที่พระองค์ทรงใช้มา” (ยอห์น 17:3)4

ทำไมต้องมีการจัดระเบียบ? … เราจัดระเบียบเพื่อให้ทำงานของพระเจ้าไต้ดีขึ้น และง่ายขึ้นโดยร่วมกันแบ่งเบาภาระและมอบหมายความรับผิดชอบ เราจัดระเบียบ ตลอดจนทำให้งานของพระเจ้าง่ายขึ้นและดีขึ้นโดยการยอมรับและปฏิบัติหน้าที่ริบ ผิดชอบ ซึ่งจะสร้างผู้นำในหมู,สมาชิกเหมือนกับที่พระอาจารย์ตรัสไว้เมื่อพระองค์ ทรงสั่งสานุติษย์ว่า “จงตามเรามาเถิด และเราจะตั้งท่านให้เป็นผู้หาคนตั้งหาปลา” นี่ เป็นถ้อยคำอย่างที่เราพูดกันในทุกวันนี้ว่า “ถ้าเจ้ารักษาบัญญัติของเรา เราจะทำให้ เจ้าเป็นผู้นำในหมู,มนุษย์และเป็นผู้นำในบรรดาผู้คนของเรา”5

ศาสนาจักรและอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้าเป็นศาสนาจักรของทุกคนไม่ใช่ของ ซนชาติเดียวหรือของคนๆ เดียว สิงที่เราพยายามทำเสมอมาคือ เปิด’โอกาส’ให้สิทธิ ซนทุกคนของพระผู้สูงสุดไม่ว่าจะอยู่ที่ใดก็ตามได้เติบโตและพัฒนาถึงขีดสูงสุดเท่าที่ เป็นไปได้ พัฒนาฑงในพลังและในอำนาจตลอดไปบนแผ่นดีนโลก และได้รับรางวัล อันเนื่องจากความซื่อสัตย์6

ทำไมงานทุกอย่างที่เราทำในศาสนาจักร จะต้องเสริมสร้างครอบครัวร

แนวหน้าในการป็องกันศาสนาจักรนี้อยู่ตรงไหน? ปฐมวัยหรือ? โรงเรียนวันอาทิตย์ หรือ? นั่นไม่ใช่วิธีที่พระบิดาบนสวรรค์ของเราทรงเปิดเผยไว้ ขอให้ท่านอ่านคำสอน และพันธสัญญาภาคที่หกสิบแปดอีกครั้ง ท่านจะพบว่าพระเจ้าทรงวางบ้านไว้ที่แนว หน้าในสนามรบเพื่อต่อด้านอำนาจที่จ้องทำลายเครื่องบิองกันเหล่านี้ (ดู ค.พ. 68: 25-32)7

โปรแกรมฐานะปุโรหิตท่างานเพื่อสนับสนุนบ้าน โปรแกรมองค์การช่วยจะคอย ให้ความช่วยเหลือที่มีคุณค่า ผู้นำ [ฐานะปุโรหิต] ที่ฉลาดจะช่วยให้เรามีส่วนในการ ท่าให้จุดประสงค์สูงสุดของพระผู้เป็นเจ้าบรรลุผล “ที่จะท่าให้เกิดความเป็นอมตะ และชีวิตนิรันดรของมนุษย์” (โมเสส 1:39) การเปิดเผยของพระผู้เป็นเจ้าและการ เรียนเของมนุษย์ต่างก็บอกเราว่าบ้านมีความสำคัญมากเพียงใดในการหล่อหลอม ประสบการณ์ชีวิตทุกด้านของคนเรา … ส่วนใหญ่สิงที่เราท่าอันเกี่ยวเนื่องกับการจัด ระเบียบองค์การขณะที่เราพยายามสร้างคน คือ การสร้างโครงคํ้า และเราต้องไม่เข้า ใจผิดในเรื่องการสร้างโครงคํ้าสำหรับจิตวิญญาณ8

บ้านเป็นสถาบันหลักและสำคัญที่สุดในบรรดาสถาบันทั้งหมดของพระผู้เป็นเจ้า เราได้รับกุญแจเพื่อไขเข้าส่โปรแกรมความสัมพันธ์กันโดยรวมเมื่อฝ่ายประธานสูงสุด ประกาศหลักธรรมพื้นฐานที่สุดอย่างหนึ่งที่เราต้องสร้างอยู่บนนั่น มีความว่า “บ้าน เป็นพื้นฐานซองชีวิตที่ชอบธรรม และไม่มีสถาบันใดจะมาแทนที่หรือดำเนินงาน อันสำคัญยิ่งที่พระผู้เป็นเจ้าทรงมอบหมายมานี้ให้สำเร็จลงได้ สิงสำคัญที่องค์การช่วย ท่าได้คือ ช่วยบ้านที่มีบิญหาโดยให้ความช่วยเหลือและผู้ช่วยเหลือพิเศษเมื่อจำเป็น”

เมื่อเข้าใจเช่นนี้แล้ว เราจึงควรวางแผนกิจกรรมทุกอย่างของศาสนาจักรเพื่อ เสริมสร้าง—ไม่ใช่หักล้าง—การดำเนินงานของบ้านที่จัดระเบียบไว้อย่างดี ล้าหาก บิดามารดานำได้ไม่ดี ผู้สอนประจำบ้านซองฐานะปุโรหิตและองค์การช่วยต้องให้การ นำทางที่จำเป็น โดยเนื้อแห้แล้ว นี่หมายความว่าเราต้องวางแผนกิจกรรมทุกอย่างที่ ศาสนาจักรให้การสนับสนุนโดยคำนึงถึงสิงนี้เสมอ และเน้นเป็นพิเศษถึงความสำคัญ ของการกระตุ้นทุกครอบครัวให้จัดสังสรรค์ในครอบครัวเป็นประจำทุกสัปดาห์ ตลอดจนกระตุ้นเตือน และช่วยบิดาที่ดำรงฐานะปุโรหิตอันศักดี้สิทธี้ให้ทำบทบาท อันถูกต้องของตนในฐานะหัวหน้าครอบครัว9

พระผู้เป็นเจ้าจะไม่ทรงขอให้ชายคนใดสละครอบครัวเพื่อทำหน้าที่อื่นในอาณา- จักรเป็นอันขาด กี่ครั้งแล้วที่เราพยายามเน้นว่างานสำคัญที่สุดของพระเจ้าที่เราจะทำ ในฐานะสามีและบิดาอยู่ในรั้วบ้านของเรานั่นเอง? การเป็นบิดาถือเป็นงานมอบ หมายอย่างหนึ่งที่ไม่มีการปลด10

ขณะที่ข้าพเจ้าคิดถึงสิงที่เรากำลังทำในเวลานี้ และผลกระทบที่เป็นไปไต้ของการ ทำเช่นนั่น ล้อยดำของศาสดามีคาห์ก็เข้ามาในความคิด “ในยุคหลังจะเป็นดังนี้ คือ ภูเขาแห่งพระนิเวศของพระเจ้าจะถูกสถาปนาขึ้นให้สูงที่สุดในจำพวกภูเขาทั้งหลาย และจะถูกยกขึ้นให้เหนือบรรดาเนินเขา ซนชาติทั้งหลายจะหลั่งไหลเข้ามาหา

“และประซาชาติเป็นอันมากจะมากล่าวว่า มาเถิด ให้เราขึ้นไปยังภูเขาของพระเจ้า ยังพระนิเวศแห่งพระเจ้าของยาโคบ เพื่อพระองค์จะทรงสอนวิถีของพระองค์แก่เรา และเพื่อเราจะเดินในมรรคาของพระองค์ เพราะว่าพระธรรมจะออกมาจากคิโยน และพระวจนะของพระเจ้าจะออกมาจากเยรูซาเล็ม” (มีคาห์ 4:1-2)

ข้าพเจ้ากล่าวกับท่านที่เป็นมารดาและบิดาสิทธิชนยุคสุดท้ายว่า หากท่านจะลุก ขึ้นทำความรับผิดชอบในการสอนลูกที่บ้าน—โควรัมฐานะปุโรหิตเตรียมบิดา สมาคม สงเคราะห์เตรียมมารดา—ในไม่ข้า วันนั่นจะมาถึงเมื่อซาวโลกจะมาที่บ้านของเรา และพูดว่า “บอกทางเราหน่อย เพื่อเราจะเดินตามทางของท่านไต้”11

ภายใต้การนำของฐานะปุโรหิต องค์การช่วยจะร่วมมือกันทำงาน เพื่อเสริมสร้างครอบครัวไต้อย่างไร?

กล่าวกันทั่วไปว่า ความสัมพันธ์กันหมายถึง … การจัดฐานะปุโรหิตของพระผู้เป็น เจ้าให้อยู่ในที่ที่พระเจ้าทรงกำหนด-ในฐานะศูนย์กลางและหัวใจของศาสนาจักร และอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้า—และจะต้องทำให้บ้านของสิทธิซนยุคสุดท้ายมี ส่วนในแผนอันคักดี้สิทธของการช่วยจิตวิญญาณให้รอด12

เวลานี้ มีการจัดตั้งองค์การช่วยในศาสนาจักรนอกเหนือจากองค์การฐานะปุโรหิต หรือดังที่กล่าวไวํในพันธสัญญาใหม่ว่าเป็น “ผู้ช่วยและคณะปกครอง” ที่เพิ่มให้กับ ฐานะปุโรหิต [ดู 1 โครีนธ์ 12:28] เกี่ยวกับองค์การเหล่านี้ ประธานโจเซฟ เอฟ. สมีธกล่าวว่า “ข้าพเจ้าคิดถึงองค์การช่วยของเรา องค์การเหล่านี้คืออะไรหรือ? คือผู้ ช่วยขององค์การหลักในศาสนาจักร ไม่ใช่องค์การอิสระ ข้าพเจ้าอยากพูดกับสมาคม พัฒนาร่วมของเยาวชนชายและหญิงสาว สมาคมสงเคราะห์ ปฐมวัย โรงเรียนวัน อาทิตย์ ชั้นเรียนศาสนา และองค์การอื่นๆ ทั้งหมดในศาสนาจักรว่า ไม่มีแม้แต่ องค์การเดียวที่ไม่ขึ้นกับฐานะปุโรหิตชองพระบุตรของพระผู้เป็นเจ้า ไม่มีแม้แต่องค์ การเดียวที่พระเจ้าจะทรงยอมรับหากเขาไม่ฟังและไม่ทำตามคำแนะนำและคำปรึกษา ของผู้ที่ดำรงฐานะปุโรหิตและดูแลเขา องค์การทั้งหมดนี้อยู่ภายใต้อำนาจและหน้าที่ ของศาสนาจักร และต้องขึ้นอยู่กับอำนาจนั้น ทั้งเขาจะใข้สิทธนองค์การของตนโดย ไม่ขึ้นกับฐานะปุโรหิต และศาสนาจักรไม่ไต้” [Gospel Doctrine, 5th ed. (1939), 383]13

ในการเปิดเผยที่ยอดเยี่ยมในยุคบีจจุบันเกี่ยวกับการปกครองศาสนาจักร พระ เจ้าทรงสรุปด้วยข้อความนี้

“ดูเถิด นี่คือทางที่อัครสาวกของเราในสมัยโบราณเสริมสร้างศาสนาจักรของเราให้ แก่เรา

“ฉะนั้น ให้ทุกคนยืนอยู่ในหน้าที่ของเขาเอง และทำงานในหน้าที่ของเขาเอง และ อย่าให้คืรษะกล่าวกับเท้าว่ามันไม่มีความต้องการเท้าเพราะปราศจากเท้าร่างกายจะ สามารถยืนไต้อย่างไรเล่า?

“ร่างกายด้วยมีความต้องการอวัยวะทุกอย่าง เพื่อทั้งหมดจะไต้รับการสร้างสรรค์ ด้วยกันเพื่อจะรักษาระบบให้สมบูรณ์” (ค.พ. 84:108-110)

เมื่อท่านไตร่ตรองพระคัมภีร์ข้อนี้จะเห็นไต้ชัดว่าข้อเหล่านี้พูดถึงเหตุผลอย่างน้อย กี่ประการของความจำเป็นที่ต้องมีการปรึกษาหารืออย่างต่อเนื่องสมรเสมอและความ สัมพันธ์กันของส่วนต่าง ๆ ที่แบ่งแยกออกมา รวมทั้งโควรัมฐานะปุโรหิต องค์การช่วย และหน่วยอื่นทั้งหมดในอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้า ข้อสรุปทั้งกี่มีดังนี้

หนึ่ง แต่ละองค์การต้องมีหน้าที่เฉพาะอย่างของตน และต้องไม่ก้าวก่ายขอบข่าย หน้าที่ขององค์การอื่น ซึ่งจะเป็นเหมือนตาพูดกับมือว่า “เราไม่ต้องการเจ้า”

สอง แต่ละส่วนที่แบ่งแยกออกมามีความสำคัญเท่ากันในงานแห่งความรอด ดังที่ อวัยวะแต่ละอย่างของร่างกายจำเป็นต่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์

สาม ทุกองค์การจะไต้รับการสร้างสรรค์หรือความรูไปพร้อม ๆ กัน และ

กี่ ระบบอาจจะสมบูรณ์แบบ อีกนัยหนึ่งคือ ภายในขอบข่ายของแผนการจัดระเบียบ ของพระเจ้าเพื่อความรอดของลูก ๆ ของพระองค์ ศาสนาจักรจะทำหน้าที่เสมือน ร่างกายมนุษย์’ที่มีอวัยวะครบถ้วน โดยที่สมาซิกทุกคนต่างทำหน้าที่ตามที่ตนไต้รับ14

ในอดีต บางครั้งเราหันไปทำกี่งซึ่งดูเหมือนจะเน้นความรับผิดชอบที่เรามีต่อโปร- แกรมแทนที่จะเน้นสมาชิกของศาสนาจักร เราขอให้ทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้อง … ทำตาม พระบัญชาที่สำคัญยิ่งเกี่ยวกับจุดประสงค์ขององค์การทั้งหมดนั้น นั้นคือ “ที่จะทำให้ เกิดความเป็นอมตะและชีวิตนิรันดร์ฃองมนุษย์” (โมเสส 1:39) แน่นอนว่า หากเรา ต้องการวัดค่าของโปรแกรมนี้หรือโปรแกรมนั้น ให้เราถามว่า โปรแกรมนี้ส่งเสริม ความก้าวหน้าของบุคคลสู่เป็าหมายแห่งชีวิตนิรันดรในที่ประทับของพระบิดาหรือ ไม่? หากไม่และไม่มีความเกี่ยวข้องเลย ก็ไม่ต้องสนับสนุนให้ทำสิงนั้นในศาสนาจักร15

ข้อแนะนำสำหรับการศึกษาและการสนทนา

  • ทำไมเราจึงต้องระลึกถึงจุดประสงค์สูงสุดของศาสนาจักร—”ที่จะทำให้เกิดความ เป็นอมตะและชีวิตนิรันดรของมนุษย์” ในงานทุกอย่างที่เราทำในศาสนาจักร? (โมเสส 1:39)

  • ศาสนาจักรช่วยให้เรามีชีวิตที่ดีพร้อมอย่างไร? ช่วยให้เรา “เติบโตและพัฒนาถึง ขีดสูงสุดเท่าที่เป็นไปไต้” อย่างไร?

  • ทำไมบ้านจึงเป็นสถาบันหลักและสำคัญที่สุดในบรรดาสถาบันทั้งหมดของพระผู้ เป็นเจ้า? เราจะทำอะไรไต้บ้างในความรับผิดชอบของเราในศาสนาจักรเพื่อเสริม สร้างครอบครัว?

  • ท่านคิดว่าประธานลึหมายถึงอะไรเมื่อท่านกล่าวว่าฐานะปุโรหิตเป็น “ศูนย์กลาง และหัวใจของศาสนาจักร”? คำแนะน่าที่ใหํไวํใน ค.พ. 84:108-110 ช่วยให้เรา เข้าใจอย่างไรว่าฐานะปุโรหิตและองค์การช่วยของศาสนาจักรควรร่วมมือกันทำงาน?

  • โปรแกรมฐานะปุโรหิตและองค์การช่วย “ทำงานเพื่อสนับสนุนบ้าน” อย่างไร? โปรแกรมเหล่านี้สนับสนุนบ้านของท่านอย่างไร?

  • ในความพยายามของเราที่จะรับใข้ในศาสนาจักร ทำไมเราจึงต้องระวังไม่ให่โปร- แกรมมีดวามสำคัญกว่าผู้คน? เราจะบรรลุสิงนี่ไต้อย่างไร?

อ้างอิง

  1. คำปราศรัยในการประชุมใหญ่สามัญโรง- เรียนวันอาทิตย์ วันที่ 2 ตุลาคม 1970 เอกสารสำคัญของแผนกประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิซน ยุคสุดท้าย หน้า 7

  2. คำปราศรัยที่มหาวิทยาลัยบริคัม ยัง วันที่ 3 ตุลาคม 1950 เอกสารสำคัญของห้อง สมุด ฮาโรลต์ ปี. ลี มหาวิทยาลัยบริคัม ยัง หน้า 9-10

  3. คำปราศรัยที่องต์การของสเตคเวอร์จิเนีย วันที่ 30 มิถุนายน 1957 เอกสารสำคัญ ของแผนกประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรของ พระเยซูคริสต์แห่งสิทธิซนยุคสุดท้าย

  4. The Teachings of Harold B. Lee, ed. Clyde J. Williams (1996), 587.

  5. The Teachings of Harold B. Lee, 565.

  6. The Teachings of Harold B. Lee, 385.

  7. The Teachings of Harold B. Lee, 262.

  8. The Teachings of Harold B. Lee, 267.

  9. The Teachings of Harold B. Lee, 559.

  10. The Teachings of Harold B. Lee, 292-93.

  11. In Conference Report, Oct. 1964, 87; or Improvement Era, Dec. 1964, 1081.

  12. The Teachings of Harold B. Lee, 563.

  13. คำปราศรัยที่สมาคมพัฒนาร่วม ปี 1948 เอกสารสำคัญของแผนกประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิซน ยุคสุดท้าย หน้า 3

  14. In Conference Report, Oct. 1961, 77-78.

  15. คำปราศรัยที่การลัมมนาผู้แทนภาค วันที่ 4-5 เมษายน 1973 เอกสารสำคัญของ แผนกประวัติศาสตร์ ศาสนาจักรของพระ เยซูคริสต์แห่งสิทธิซนยุคสุดท้าย หน้า 10