บทที่ 22
ตักตวงความรู้ ถึงความจริงนิรันดร์
“มนุษย์ไม่ได้รอดเร็วกว่าที่เขาตักตวงความรู้”
จากชีวิตฃองโจเซฟ สมิธ
ศาสดาโจเซฟ สมิธ “ชอบเรียนรู้” จอร์จ คิว. แคนนอนเขียน “ท่านรักความ รู้เพราะพลังอันชอบธรรมของมัน และ เพราะความยากลำบากรุมล้อมท่านนับ จากวันที่ชาวโลกช่างสงสัยรู้จักท่านเปีนครั้งแรกถึงการติดต่อของท่านลับสวรรค์ ท่านจึงลํ้าหน้ามาตลอดในการได้มาซึ่งสติปัญญา พระเจ้าทรงบัญชาท่านให้ศึกษา และท่านเชื่อฟ้ง… พระวิญญาณศักคิ์สิทธี้ทรงทำให้สมองของท่านรับรู้หนักธรรมแห้จริงทั้งหมดได้อย่างฉับไว และท่านเชี่ยวชาญทีละแขนง จนกลายเปีน ครูในแขนงต่างๆ เหล่านี้”1
คริสต์ศักราช 1833 ศาสดาและสิทธิชนเคิร์ทแลนด์กลุ่มหนึ่งมีโอกาสอันหาได้ยากที่จะศึกษาพระกิตติคุณ ในเดือนมกราคมของปีทั้น ตามพระบัญชาของ พระเจ้า (ดู ค.พ. 88:127–141) ศาสดาได้จัดตั้งโรงเรียนศาสดาเพื่ออบรมผู้ดำรงฐานะปุโรหิตให้รู้งานของพวกเขาในการปฏิบัติศาสนกิจและเตรียมพวกเขาให้ พร้อมสั่งสอนพระกิตติคุณ โรงเรียนดังกล่าวจัดในห้องชั้นสองของร้านนิวเวล เค. วิทมีย์ที่ศาสดาอาศัยอยู่ พี่น้องชายประมาณ 25 คนเข้าร่วม บางคนเดินทาง หลายร้อยกิโลเมตรเพื่อมาศึกษาในห้องที่กว้างประมาณ 11 คูณ 14 ฟุต หลาย คนได้เปีนอัครสาวก สาวกเจ็ดสิบ และผู้นำศาสนาจักรในเวลาต่อมา แห้ศาสดา และพี่น้องชายคนอื่นๆ จะเรียนภาษาเปีนครั้งคราว แต่พวกท่านบุ่งเน้นการเรียน หลักคำสอนของพระกิตติคุณเป็นสำคัญ โดยตั้งอกตั้งใจศึกษาตั้งแต่เข้าตรู่จน บ่ายคล้อย โรงเรียนแห่งนี้เปีดอยู่นานสี่เดือน และได้จัดโรงเรียนคล้ายลันนี้ใน เกิร์ทแลนด์และในมิสซู่รีด้วย ซึ่งมีหลายร้อยคนเข้าร่วม
ที่การประชุมของโรงเรียนเมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1833 ศาสดาได้รับ การเปีดเผยที่สำคัญ ในสมัยเริ่มแรกของศาสนาจักร การใช้เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ ยาสูบ กาแฟ และนํ้าชาพบเห็นได้ทั่วไปในสังคมและในบรรดาสมาชิก ศาสนาจักร เมื่อศาสดาเห็นพี่น้องชายใช้ยาสูบที่โรงเรียน ท่านเปีนห่วง บริคัม ยังล์เล่าว่า “เมื่อพวกเขามาชุมนุมคันในน้องนี้หลังอาหารเช้า สิ่งแรกที่พวกเขา ทำคือจุดกล้องยาสูบและสูบไปด้วยขณะพูดถึงเรื่องต่างๆ ของอาณาจักร… บ่อยครั้งที่ศาสดาเช้ามาในน้องเพี่อใน้คำแนะน่าสั่งสอน ท่านจะพบตนเองอยู่ ท่ามกลางควันบุหรี่ เรื่องนี้และคำบ่นของภรรยาที่ด้องทำความสะอาดพื้นสกปรก [จากการเคี้ยวยาสูบ] ทำใน้ศาสดานึกถึงเรื่องดังกล่าว และท่านทูลถามพระเจ้า เกี่ยวกับความประพฤติของเหล่าเอ็ลเดอร์ในการใช้ยาสูบและการเปีดเผยที่รู้ คันว่าคือพระวาจาแห่งปัญญาเป็นผลของการทูลถามครั้งนี้”2
หลายล้านคนทำตามคำแนะนำในการเปีดเผยดังกล่าวและได้รับพรทั้งทาง โลกและทางวิญญาณ ตลอดจน “ปัญญาและขุมทรัพย์แห่งความรู้” ที่สัญญาไว้ คับคนที่ดำเนินในการเชื่อฟ้งพระบัญญัติของพระผู้เปีนเจ้า (ค.พ. 89:19)
ขุมทรัพย์แห่งความรู้ทางวิญญาณหลั่งมาบนพี่น้องชายในโรงเรียนศาสดา และ พวกเขาน้าวหน้าอย่างมากในความเช้าใจพระกิตติคุณ ที่การประชุมของโรงเรียน เมื่อ 8 มีนาคม ค.ศ. 1833 ซิดนีย์ ริกดันและเฟรเดอริค จี. วิลเลียมล์ได้รับ การวางมือมอบหน้าที่เปีนที่ปรึกษาของศาสดาในฝ่ายประธานสูงสูด หลังจากนั้น ศาสดาได้ “แนะนำพี่น้องชายใน้ซื่อสัตย์และพากเพียรในการรักษาบัญญัติของ พระผู้เปีนเจ้า และใน้คำแนะนำมากมายเพี่อประโยชน์ของสิทธิชน โดยสัญญา ว่าผู้มีใจบริสูทธี้จะได้เห็นภาพปรากฎจากสวรรค์ และหลังจากเหลือเวลาสั้นๆ ใน้สวดอ้อนวอนในใจ คำสัญญาดังกล่าวเปีนจริง เพราะพระวิญญาณของพระผู้ เปีนเจ้าทรงเปีดตาแห่งความเช้าใจของพี่น้องหลายคนที่ทั่นจนเห็นมากมายหลาย สิ่ง… หลายคนเห็นภาพปรากฎจากสวรรค์ของพระผู้ช่วยใน้รอด เหล่าเทพ เหลือคณานับและอื่นๆ อีกมากมายหลายอย่าง”3
ศาสดาอธิบายว่า “ความปีติยินดียิ่งและความพอใจฉายอยู่ในหน้าผู้เช้าเรียน โรงเรียนศาสดาและสิทธิชนเพราะการเปีดเผยที่ได้รับและความน้าวหน้าของเรา ในความรู้เรื่องพระผู้เปีนเจ้า”4
คำสอนฃองโจเซฟ สมิธ
พระกิตติคุณของพระเยซูคริสต์ครอบคลุมความจริงทั้งมวล คนชื่อสัตย์ยอมรับความจริงที่พระผู้เป็นเจ้าทรงเปีดเผย และทั้งประเพณีผิดๆ
“ความเชื่อของมอรมอนเป็นความจริง และทุกคนที่น้อมรับจะรู้สึกว่าตนมี เสรีภาพที่จะน้อมรับความจริงทุกอย่าง ด้วยเหตุนี้โซ่ตรวนของไสยศาสตร์ ความ ดื้อรั้น ความไม่รู้ และอำนาจปลอมจึงหลุดจากคอเขาทันที และตาของเขามอง เห็นความจริง และความจริงมีชัยอย่างกว้างขวางเหนืออำนาจปลอม…
“… ความเชื่อของมอรมอนเปีนความจริง อีกนัยหนึ่งคือหลักคำสอนของ สิทธิชนยุคสุดทัายเปีนความจริง… หลักธรรมพื้นฐานข้อแรกของศาสนาที่ บริลุทธี้ของเราคือ เราเชื่อว่าเรามีสิทธี้น้อมรับทั้งหมด และความจริงทุกเรื่อง โดยไม่มีข้อจำกัดหรือไม่ถูกจำกัดหรือถูกหวงห้ามโดยข้อบัญญัติหรือความคิด ทางไสยศาสตร์ของมนุษย์ หรือโดยนิกายใดนิกายหนึ่งเมื่อความจริงปรากฎชัดต่อ ความคิดของเรา และเรามีหลักฐานระดับสูงสุดยืนยันความจริงนั้น”5
ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1843 โจเซฟ สมิธสนทนากับคนบางคนที่ไม่ได้เปีน สมาชิกของศาสนาจักรดังนี้ “ข้าพเจ้าแถลงว่าความแตกต่างที่เห็นเด่นชัดที่สูด ระหว่างทัศนะของสิทธิชนยุคสูดกัายกับของนิกายต่างๆ คือ อย่างหลังถูกจำกัด ด้วยข้อบัญญัติพิเศษบางอย่างซึ่งสมาชิกจะไม่มีสิทธี้เชื่อเรื่องใดที่ไม่ได้อยู่ในข้อ บัญญัตินั้น ขณะที่สิทธิชนยุคสูดบัาย… พร้อมจะเชื่อหลักธรรมแบัจริงทุกข้อที่ ดำรงอยู่ ดังที่ประจักษ์มาแล้วหลายครั้งหลายครา”6
“ข้าพเจ้าไม่เชื่อในข้อบัญญัติใดๆ ของนิกายต่างๆ เพราะพวกเขาล้วนมีบาง สิ่งบางอย่างที่ข้าพเจ้ายอมรับไม่ได้แน้จะมีความจริงอยู่ห้าง ข้าพเจ้าด้องการขึ้น ไปถึงที่ประทับของพระผู้เปีนเจ้าและเรียนรู้ทุกเรื่อง แต่ข้อบัญญัติกำหนดขีดขั้น [ขีดจำกัด] และกล่าวว่า ‘เจ้าไปได้ไกลแค่นี้แหละ อย่าเลยไปอีก’ [โยม 38:11] ซึ่งข้าพเจ้าไม่ เชื่อ”7
“ข้าพเจ้ากล่าวกับทุกคนที่ประสงค์จะกำหนดขีดขั้นให้พระผู้ทรงมหิทธิฤทธิ์ ว่าท่านจะไม่ได้รับพระสิริของพระผู้เปีนเจ้า เพื่อจะเป็นทายาทร่วมกับพระบุตร เขาด้องทิ้งประเพณีผิดๆ ทั้งหมดของเขา”8
“เรื่องสำคัญที่เราด้องรู้คือ เข้าใจว่าพระผู้เปีนเจ้าทรงกำหนดอะไรไว้ก่อนการ วางรากฐานของโลก ใครทราบบ้าง สิ่งนั้นคือนิสัยตามธรรมชาติของมนุษย์ที่จะ กำหนดขีดขั้นและขอบเขตการทำงานตลอดจนวิธีของพระผู้ทรงมหิทธิฤทธี้… สิ่งซึ่งถูกปีดบังไว้ตั้งแต่ก่อนการวางรากฐานของโลกจะเปีดเผยในวันเวลา สุดบ้ายต่อทารกและเด็กที่ยังดูดนม [ดู ค.พ. 128:18]”9
“เมื่อมนุษย์เปีดปากพูดต่อบ้าน [ความจริง] พวกเขาไม่ไบ้ทำว้ายข้าพเจ้า แต่ ทำว้ายตนเอง… เมื่อสิ่งซึ่งมีความสำคัญมากที่สุดถูกคนโง่เขลาเบาปัญญามอง ข้ามโดยไม่คิดสักนิด ข้าพเจ้ากลับอยากเห็นความจริงเกิดผลและกอดไว้แนบอก ข้าพเจ้าเชื่อทั้งหมดที่พระผู้เปีนเจ้าทรงเปีดเผยมา และข้าพเจ้าไม่เคยได้ยินว่ามี คนถูกลงโทษเพราะเชื่อมากเกินไป แต่พวกเขาถูกลงโทษเพราะความไม่เชื่อ”10
“เมื่อพระผู้เปีนเจ้าทรงมอบพรหรือความรู้ให้มนุษย์ และเขาไม่ยอมรับ เขา ย่อมถูกลงโทษ ชาวอิสราเอลสวดอ้อนวอนขอใบ้พระผู้เป็นเจ้าตรัสกับโมเสส ไม่ใช่กับพวกเขา ด้วยเหตุนิ่โมเสสจึงทำให้พวกเขาเป็นทุกข์เพราะกฎทางโลก”11
“ข้าพเจ้ามีความพอใจเสมอมาที่ได้เห็นความจริงมีชัยเหนือความชั่ว และ ความมีดหลีกทางใบ้ความสว่าง”12
การตักตวงความรู้ถึงความจริงนิรันดร์จำเป็ต่อการได้ความรอด
“ถวามรูู้จำเป็นต่อชีวิตและความเป็นเหมือนพระผู้เปีนเจ้า วิบัติแก่ปุโรหิต และบาทหลวงทั้งหลายผู้สั่งสอนว่าความรูู้ไม่จำเป็นต่อชีวิตและความรอด เมื่อ นำอัครสาวก ฯลฯ ออกไป นำความเออกไป ท่านจะพบว่าตัวท่านสมควรไบ้รับ โทษของนรก ความรูู้คือการเปีดเผย จงฟ้งเกิด พี่บ้องทั้งหลาย กุญแจสำคัญคือ ความรูู้เป็นพลังอำนาจของพระผู้เป็นเจ้าที่นำไปสู่ความรอด”13
“ความรูู้กำจัดความมีด ความไม่แน่ใจ และความสงสัย เพราะสิ่งเหล่านี้ดำรง อยู่ไม่ได้อ้ามีความรูู้… ในความรูู้มีพลัง พระผู้เปีนเจ้าทรงมีพระเดชานุภาพ มากกว่าสัตภาวะอื่นทั้งหลายทั้งปวง เพราะพระองค์ทรงมีความเมากกว่า และ ด้วยเหตุนี้จึงทรงทราบว่าจะทำใบ้สัตภาวะทั้งหลายทั้งปวงมาอยู่ใด้อำนาจของ พระองค์ใด้อย่างใร พระองค์ทรงมีพระเดชานุภาพเหนือทั้งหมด”14
“เมื่อใดที่เราออกห่างจากพระผู้เปีนเจ้า เราย่อมลงมาหามารและสูญเลียความ รูู้ และหากปราศจากความรูู้เราจะรอดไม่ได้ และขณะที่ใจเราเต็มไปด้วยความ ชั่ว และเรากำลังศึกษาความชั่ว ย่อมไม่มีที่ว่างในใจเราสำหรับความดีหรือศึกษา ความดี พระผู้เป็นเจ้ามิใช่ความดีหรอกหรือ หากพระองค์เป็นคนดีเช่นนั้นท่าน จงเป็นคนดี หากพระองค์ซื่อสัตย์ ท่านจงซื่อสัตย์ เติมคุณธรรมให้ศรัทธาของ ท่าน เติมความรูู้ให้คุณธรรม และแสวงหาสิ่งดีทุกอย่าง [ดู 2 เปโตร 1:5]
“…มนุษย์ไม่ได้รอดเร็วกว่าที่เขาตักตวงความรูู้ เพราะถ้าเขาไม่ตักตวงความ รูู้ เขาจะถูกอำนาจชั่วบางอย่างในโลกอื่นนำไปสู่การเป็นเชลยเมื่อวิญญาณชั่วจะ มีความรูู้มากกว่า และด้วยเหตุนี้จึงมีอำนาจมากกว่าคนจำนวนมากบนแผ่นดิน โลก ฉะนั้นจึงด้องมีการเปีดเผยช่วยเรา และให้ความเแก่เราในเรื่องของพระผู้เป็นเจ้า”15
โจเซฟ สมิธสอนในเดือนเมษายน ค.ศ. 1843 ซึ่งต่อมาบันทึกไปีนคำสอน และพันธสัญญา 130:18–19 ดังนี้ “หลักธรรมแห่งปัญญาข้อใดก็ตามที่เราบรรลุ ในชีวิตนี้ มันจะลุกขึ้นพร้อมกับเราในการฟื้นคืนชีวิต และหากใครได้รับความรู้ และปัญญาในชีวิตนี้เดยทางความพากเพียรและการเชื่อฟ้งของเขายิ่งกว่าอีกคน เขาจะได้เปรียบมากเช่นนั้นในโลกที่จะมาถึง”16
โจเซฟ สนิธสอนในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1843 ซึ่งต่อมาบันทึกไนคำ สอนและพันธสัญญา 131:6 ดังนี้ “เป็นไปไม่ได้ที่มนุษย์จะรอดในความโง่เขลา”17
เราได้รับความรู้เกี่ยวกับความจริงนิรันดร์จากการหมั่นศึกษาและการ สวดอ้อนวอน
จอร์จ เอ. สมิธรายงานขณะรับใช้นฝ่ายประธานสูงสุดดังนี้ “โจเซฟ สมิธ สอนว่าชายหญิงทุกคนควรขอปัญญาจากพระเจ้า เพื่อเขาจะตักตวงความรู้จาก พระองค์ผู้ทรงเป็นบ่อเกิดของความรู้ และอำสัญญาของพระกิตติคุณตามที่เปีด เผยคือความรู้เช่นนั้นจะทำให้เราเชื่อ เพื่อโดยวิธีนี้เราจะบรรลุวัตถุประสงค์ของ การเสาะแสวงหาของเรา”18
ศาสดาโจเซฟ สมิธเขียนถึงผู้ที่เพิ่งเข้าร่วมศาสนาจักรว่า “ขอให้นึกถึงประจักษ์พยานที่ข้าพเจ้าแสดงในพระนามของพระเจ้าพระเยซูเกี่ยวกับงานใหญ่ยิ่ง ซึ่งพระองค์ทรงนำออกมาในวันเวลาสุดห้าย ท่านเวิธีสื่อสารของข้าพเจ้าในความ อ่อนแอและความเรียบง่าย ข้าพเจ้าประกาศต่อท่านถึงสิ่งที่พระเจ้าทรงนำออก มาให้ข้าพเจ้าโดยการปฏิบัติของเหล่าเทพผู้บริสุทธิ์ของพระองค์สำหรับคนรุ่นนี้ ข้าพเจ้าสวดถ้อนวอนขอให้พระเจ้าทรงท่าให้ท่านสามารถจดจำเรื่องเหล่านี้ไว้ ในจิตใจ เพราะข้าพเจ้าทราบว่าพระวิญญาณของพระองค์จะเปีนพยานต่อทุกคน ที่พากเพียรแสวงหาความรู้จากพระองค์”19
ศาสดาโจเซฟ สมิธเขียนถึงผู้ต้องการเรียนรู้มากขึ้นเกี่ยวกับศาสนาจักรว่า “จงศึกษาพระคัมภีร์ไบเบิล และหนังสือของเราให้มากที่สุดเท่าที่ท่านจะทำได้ สวดอ้อนวอนพระบิดาในพระนามของพระเยซูคริสต์ มีศรัทธาในคำสัญญาที่ทำ ไว้คับบรรพบุรุษ และความคิดท่านจะถูกนำไปพบความจริง”20
“เรื่องของพระผู้เป็นเจ้ามีความสำคัญอย่างลึกซึ้ง เวลา ประสบการณ์ ความ คิดที่สุขุมรอบคอบ ใคร่ครวญอย่างดี และจริงจังเท่านั้นจึงจะพบเรื่องของพระผู้เป็นเจ้าได้ จงพีงเคิด โอ้มนุษย์ หากเจ้าจะนำจิตวิญญาณมาสู่ความรอด เจ้าด้อง ยืดตัวให้สูงเทียมพีาที่อยู่ไกลสุด สำรวจและเพ่งพินิจเหวลึกที่สุด และความ กว้างใหญ่ของนิรันดร-เจ้าด้องสื่อสารกับพระผู้เป็นเจ้า พระราชดำริของพระผู้เป็นเจ้าสูงส่งและลํ้าค่ายิ่งกว่าความเพ้อฝันอันไว้ประโยชน์ของใจมนุษย์มากนัก!…
“…ขอให้ความซื่อสัตย์ ความสุขุมเยือกเย็น ความตรงไปตรงมา ความ สุจริตใจ คุณธรรม ความบริสุทธิ์ ความอ่อนโยน และความเรียบง่ายเปีนมงกุฎ บนศีรษะเราทุกที่ สรุปคือจงเป็นเหมือนเด็กเล็กๆ ไม่มีเจตนาร้าย ไม่มีมารยา หรือไร้ความหน้าซื่อใจคด และบัดนี้ พี่น้องทั้งหลาย หลังจากความยากลำบาก ของท่าน หากท่านทำสิ่งเหล่านี้ และสวดอ้อนวอนอย่างจริงจังและมีศรัทธาใน สายพระเนตรของพระผู้เป็นเจ้าเสมอ พระองค์จะประทานความรู้ใบ้ท่านโดย พระวิญญาณศักดิ์สิทธี้ของพระองค์ แท้จริงแอ้ว โดยของประทานที่ไม่อาจ พรรณนาได้ของพระวิญญาณบริสุทธี้ [ดู ค.พ. 121:26]”21
เราตักตวงความรู้ถึงความจริงนิรันดร์ทีละเล็กทีละน้อย เราเรียนรู้ทุกสิ่งได้เร็วเท่าที่เราจะสามารถรับได้
“ไม่ฉลาดเลยที่เราจะมืความรู้ทั้งหมดที่อยู่ตรงหน้าเราโดยทันที แต่เราควรมี ทีละเล็กละน้อย แลํวเราจะเข้าเจเด้”22
“เมื่อท่านไต่บันได ท่านต้องเริ่มจากขั้นตํ่าสุดแล้วขึ้นไปทีละขั้น จนกระทั่ง ถึงขั้นสูงสุด เช่นเดียวกับหลักธรรมของพระกิตติคุณ—ท่านอ้องเริ่มจากขั้นแรก แอ้วดำเนินต่อไปจนท่านเรียนรู้หลักธรรมทั้งหมดของความสูงส่ง แต่ก่อนที่ท่าน จะเรียนรู้สิ่งเหล่านี้ด้องใช้เวลาอีกนานหลังจากท่านผ่านม่านไป เมื่ออยู่ในโลกนี้ ท่านจะยังไม่เช้าใจทุกอย่าง การเรียนรู้ความรอดและความสูงส่งของเราเป็นงาน อันยิ่งใหญ่แท่หลังความตาย”23
โจเซฟ สมิธและที่ปรึกษาของท่านในฝ่ายประธานสูงสูดให้ค้าแนะนำสิทธิชนที่กำลังมารวมกันในนอวูดังนี้ “กับผู้ที่… ช่วยในงานใหญ่นี้ได้ เรากล่าว ว่า ขอให้พวกเขามาที่นี่ โดยการทำเช่นนั้นพวกเขาจะไม่เพียงช่วยให้อาณาจักร หมุนกลิ้งไปช้างหน้าเท่านั้น แต่อยู่ในสถานการณ์ที่พวกเขาจะได้ประโยชน์จาก คำแนะนำสั่งสอนของฝ่ายประธานและเจ้าหน้าที่ท่านอื่นของศาสนาจักรด้วย ระดับสติปัญญาจะสูงขึ้นทุกวันจนพวกเขาสามารถ ‘หยั่งรู้พร้อมกับธรรมิกชน ทั้งหมด ถึงความกว้าง ความยาว ความสูง ความลึก คือให้ซาบซึ้งในความรัก ของพระคริสต์ซึ่งเกินความรู้’ [เอเฟซัส 3:18–19.]”24
“พระผู้เป็นเจ้ามิได้ทรงเปิดเผยเรื่องใดต่อใจเซฟ นอกจากเรื่องที่พระองค์จะ ทรงท่าใท่เป็นที่รู้แก่อัครสาวกสิบสอง และแม้แต่สิทธิชนตํ่าอ้อยที่สูดก็อาจจะรู้ เรื่องทั้งหมดไอ้เร็วเท่าที่เขาจะรับไหว เพราะวันด้องมาถึงเมื่อไม่มีใครจำเป็นอ้อง กล่าวกับเพื่อนบ้านว่า จงรู้จักพระเจ้า เพราะเขาทั้งหลายจะรู้จักพระองค์… ตั้งแต่คนเล็กน้อยที่สูดไปจนถึงคนใหญ่โตที่สูด [ดู เยเรมีย์ 31:34]”25
ข้อเลนอแนะสำหรับศึกษาและสอน
พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หน้า ⅶ–ⅹⅱ
-
อ่านสองบรรทัดแรกในหน้า 286 พิจารณานิสัยหรือความคิดที่ “กำหนด ขอบเขตการทำงานและวิธีของพระผู้ทรงมหิทธิฤทธี้” ในชีวิตเราได้ ท่านคิด ว่าเราด้องทำอะไรเพื่อน้อมรับความจริงทั้งหมดที่พระเจ้าจะประทานแก่เรา
-
อ่านทวนย่อหน้าสุดทำยในหน้า 286 ความรู้ขับความมืดและความสงสัยออก ไปจากชีวิตเราเมื่อใด ท่านคิดว่าเหตุใดการตักตวงความรู้เกี่ยวกับความจริง จึงจำเป็นต่อการได้รับความรอด (ดูตัวอย่างหน้า 286–287)
-
จากกำสอนของศาสดาโจเซฟ เราเห็นได้ว่าซาตานด้องการใทํเราสูญเสียความ รู้ (หน้า 286–287) และพระเจ้าประสงค์จะประทานความรู้ใทํเรา (หน้า 287-289) เราเรียนรู้อะไรทำงจากการเปรียบเทียบนี้
-
เราทำอะไรได้บ้างเพื่อเพิ่มพูนความรู้ของเราเกี่ยวกับความจริง (ดูตัวอย่าง หน้า 283–284, 287–289) อ่านทวนย่อหน้าที่เริ่มจากท้ายสุดของหน้า 288 เลือกคุณสมบัติเด่นสองสามประการที่เขียนไว้ในย่อหน้านี้ คุณสมบัติแต่ละ อย่างช่วยเตรียมเราให้พร้อมรับความรู้อย่างไร
-
อ่านย่อหน้าที่สองในหน้า 289 เราเรียนรู้อะไรบ้งจากการเปรียบเทียบการ เรียนหลักธรรมพระกิตติคุณกับการป็นบันได ท่านทำอะไรไปแล้วบ้างเพื่อ เพิ่มพูนความรู้ในพระกิตติคุณอยู่ตลอดเวลา
-
ท่านทีความคิดหรือความรู้สึกอย่างไรทำงขณะไตร่ตรองย่อหน้าสุดทำยในบท นี้
ข้อพระคัมภีร์กี่ยวข้อง: สุภาษิต 1:7; 1 ทิโมธี 2:3–4; 2 นีไฟ 28:29–31; แอสมา 5:45–47; ค.พ. 88:118