บทที่ 32
ตอบสนองการข่มเหงด้วยศรัหธาเเละ ความกล้าหาญ
“อย่ากลัวเลย แต่จงปีกำลังในพระเจ้าและในฤทธิ้เดชอันมหันต์ของพระองค์”
จากชีวิตฃองโจเซฟ ลมิธ
ในฤดูหนาว ค.ศ. 1838–1839 ทหารบ้านรัฐมิสซูรีได้รับคำสั่งจากผู้ว่าการให้ ขับไล่สิทธิชนยุคสุดท้ายออกจากรัฐ และศาสดาโจเซฟ สมิธถูกคุมขังอยู่ในคุก สิเบอร์ตี้ ฤดูหนาวปีนั้นและฤดูใบไม้ผลิที่ตามมา ภาพความทุกข์ยากลำบาก ค่อยๆ เปีดฉากเมื่อสิทธิชนหลายพันคนถูกบังคับให้ออกจากบ้านในมิสซูรี พวกเขาทิ้งทรัพย์สินส่วนใหญ่ไว้เบื้องหลังและเดินทาง 200 ไมล์ (321.87 กิโลเมตร) ไปทางตะวันออกบุ่งหบ้าสู่อิลลินอยส์ตะวันตก ภายใด้การลำกับดแลของบริคัม ยังก์และผู้นำศาสนาจักรท่านอื่นๆ มีสิทธิชนเพียงไม’กี่คนเท่านั้น ที่มีเกวียนและบ้าดี หลายคนนอนท่ามกลางสายฝนและหิมะ บางคนไม่มีรองเท้า แต่ใช้เศษผ้าหุ้มเบ้าขณะเดินลุยหิมะ
ในเดือนคุมภาพันธ์ ค.ศ. 1839 เพื่อนบ้านใจดีคนหนึ่งช่วยเอ็มมา สมิธจัดที่ นั่งใบ้ลูกสี่คนและวางช้าวของเล็กๆ ห้อยๆ ไว้ในเกวียนเล่มหนึ่งซึ่งมีฟางวาง เรียงรายอยู่ เมื่อคณะของพวกเขามาถึงแม่นํ้ามิสซิสซิปปีที่เย็นจัดจนเป็นนํ้าแข็ง เล็มมาก็เดินช้ามนํ้าแข็งกับลูกๆ โดยเอาต้นฉบับงานแปลพระคัมภีร์ไบเบิลของ ศาสดาใส่ไว้ในกระเป๋าผ้าสองใบที่ผูกไว้รอบเอวใต้กระโปรง เธอกับสิทธิชนยากจนอีกหลายคนหลบภัยอยู่ในชุมชนควินซี รัฐอิลลินอยส์ ที่นั่นพวกเขายังคง เผชิญความหิวโหย ความหนาวเย็น และความเจ็บป้วยแต่ความทุกข์ยากเหล่านี้ บรรเทาลงเพราะความเมตตาอันมากมายจากชุมชนที่ห่วงใย
แบ้ศาสดาโจเซฟปรารถนาจะช่วยสิทธิชน แต่ท่านทำอะไรไม่ไต้นอกจาก สวดอ้อนวอนและให้คำแนะนำผ่านจดหมายที่เขียนถึงบริคัม ยังล์และพี่บ้องชาย คนอื่นๆ ซึ่งกำลังนำสิทธิชนในช่วงที่ท่านไม่อยู่ ในสภาวะอับจนเช่นนี้ ท่าน เขียนจดหมายให้กำลังใจและให้สันติสุขแก่สมาชิกศาสนาจักรดังนี้ “พี่น้องที่รัก มาก ให้เราทำทุกสิ่งที่อยู่ในอำนาจของเราอย่างรื่นเริง และเมื่อนั้นเราจะยืนนิ่ง พร้อมด้วยความมั่นใจที่สุด ที่จะเห็นความรอดแห่งพระผู้เป็นเจ้าและเพี่อจะเปีด เผยพาหุของพระองค์” (ค.พ. 123:17)
วันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1839 ศาสดากับเพื่อนนักโทษถูกย้ายจากคุกลิเบอร์ตี้ ไปกัสลาติน เดวีส์เคาน์ตี้ รัฐมิสซูรีเพราะเปลี่ยนสถานที่ไต่สวน หลังจากขึ้น ศาลที่มั่น พวกท่านถูกย้ายจากกิลลาตินไปรับการไต่สวนที่โคลัมเบีย มูนเคาห้ตี้ รัฐมิสซูรี แต่กลางเดือนเมษายน ระหว่างที่ศาสดาและนักโทษคนอื่นๆ ถูกนำ ตัวไปที่โคลัมเบีย ผู้คุมอนุญาตให้พวกท่านหลบหนี ภายในหนึ่งสัปดาห์ พี่ห้อง ชายก็ได้ไปสมทบกับกลุ่มสิทธิชนในเมืองควินซี รัฐอิลลินอยส์ เก็ลเดอร์วิลฟอร์ด วูดรัฟฝ้เขียนในบันทึกส่วนตัวถึงการได้พบกับศาสดาอีกครั้งดังนี้ “เรา …ได้รับเกียรติอันสูงส่งและน่ายินดีที่ได้จับมือกับบราเดอร์โจเซฟอีกครั้ง … ท่านทักทายเราด้วยความปีติยินดียิ่ง ท่านเพิ่งได้รับการปล่อยตัวออกจากคุก และจากมือศัตรูของท่าน และกลับคืนสู่อ้อมอกของครอบครัวและมิตรสหาย …ใจเซฟเป็นคนเปีดเผย ตรงไปตรงมา และเป็นกันเองเหมือนเติม ซิสเตอร์ เอ็บมามืความสุขมาก”1
ต่อมาศาสดากล่าวสรรเสริญเพื่อนสิทธิชนของท่านผู้อดทนร่วมกับท่านด้วย ความกล้าหาญยิ่งเพี่อเห็นแก่ศรัทธาของพวกเขาในพระกิตติคุณที่ได้รับการพี้นฟู ของพระเยซูคริสต์ “ความประพฤติของสิทธิชน ภายใด้ความไม่เป็นธรรมและ ความทุกข์มากมายที่พวกเขาประสบ มืค่าควรแก่การสรรเสริญ ความกล้าหาญ ของพวกเขาในการปกป้องพี่น้องมิให้ถูกกลุ่มคนร้ายเหยียบยํ่าทำลาย การยืดมั่น อุดมการณ์แห่งความจริงภายใต้สภาวการณ์ที่สุดจะทนทานได้และทุกข์ทรมานเกิน กว่ามนุษย์จะทนไหว ความรักที่พวกเขามืให้ทัน ความพร้อมที่พวกเขาจะให้ ความช่วยเหลือข์าพเจ้าและพี่ห้องผู้ถูกขังอยู่ในคุกมืด การเสียสละของพวกเขา เมื่อต้องออกจากมิสซูรี ช่วยหญิงม่ายและเด็กกำพร้ายากจน จัดหาที่พักพิงให้ คนเหล่านั้นในแผ่นตินที่โอบอ้อมอารีมากกว่า ทุกคนวางแผนให้คนเหล่านั้นได้ รับการเลี้ยงดูจากชายที่ดีและมีคุณธรรม ได้รับความโปรดปราน และเป็นที่พอ พระทัยของพระ เยโฮวาห์ และได้รับชื่อที่ยืนยงชั่วนิรันดร์”2
คำลโอนฃองโจเซฟ สมิธ
ศัตรูของความจริงต่อต้านผู้รับใช้ของพระเจ้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งขณะผู้รับใช้ใกล้ชิดพระเจ้ามากขึ้น
“การข่มเหงวนเวียนอยู่รอบศีรษะเราครั้งแล้วครั้งเล่า…เหมือนเสียงฝ้าร้องครั่นครืน เพราะศาสนาของเรา”3
“หลักศาสนาของเราอยู่ต่อหน้าชาวโลกพร้อมจะให้มนุษย์ทุกคนสำรวจ แต่ เรารู้ว่าการข่มเหงที่เกิดกับเพื่อนๆ ของเราล้วนมืสาเหตุมาจากการใส่ร้าย [ข้อ กล่าวหาเท็จ] และการบิดเบือนโดยไม่มืมูลความจริงและความชอบธรรม เรา อดทนต่อการข่มเหงครั้งนี้เหมือนที่ศาสนานิกายอื่นเคยอดทนมาแล้วเมื่อพวก เขาเริ่มต้นครั้งแรก”4
“ฉะนั้นอย่าแปลกใจเลยถ้าท่านถูกข่มเหง แต่จงระลึกถึงพระดำรัสของพระผู้ช่วยให้รอดที่ว่า “บ่าวบิไต้เป็นใหญ่กว่านาย ถ้าเขาข่มเหงเรา เขาก็จะข่มเหง ท่านทั้งหลายต้วย่’ [ดู ยอห้น 15:20] และว่าความทุกข์ทรมานทั้งสิ้นที่สิทธิชน ต้องประสบคือสัมฤทธิผลแห่งถ้อยคำที่บรรดาศาสดาพูดไว้ตั้งแต่โลกเริ่มต้น”5
“เมื่อใดที่ข้าพเจ้าทำสุดความสามารถ—เมื่อใดที่ข้าพเจ้ากำลังท่าดีที่สุด เมื่อ นั้นความชั่วร้ายที่สุดและความระแวงสงสัยที่ชั่วช้าจะลุกขึ้นต่อต้านข้าพเจ้า… ศัตรูของคนเหล่านี้จะข่มเหงศาสนาจักรไม่เลิกรา จนกว่าพวกเขาจะชนะ ข้าพเจ้าคิดว่าพวกเขาจะทำให้ทุกอย่างที่อยู่ในอำนาจควบคุมของพวกเขาหันมาต่อต้านข้าพเจ้า และเราจะต้องท่าสงครามที่ยืดเยื้อและน่ากลัว คนที่จะทำสงคราม คริสต์ศาสนาต่อต้านความเสื่อมทรามของวันเวลาสุดห้ายนี้จะมืคนชั่ว บริวาร ของมาร และอำนาจชั่วร้ายทั้งหมดของความมืดคอยขัดขวางเขาตลอดเวลา เมื่อคนชั่วและคนเลวต่อต้าน นั่นคือบรรทัดฐานที่ใช้ตัดสินว่ามนุษย์อำลังทำสงครามคริสต์ศาสนาอยู่หรือไม่ เมื่อมนุษย์ทุกคนใส่ความท่าน ท่านย่อมเป็นสุข ฯลฯ [ดู หัทธิว 5:11] ชายคนหนึ่งเป็นคนเลวหรือไม่เมื่อมืคนพูดให้ร้ายเขา ไม่เลย ล้าชายคนหนึ่งยืนต่อต้านโลกแห่งบาป เขาคาดหวังไต้เลยว่าวิญญาณทั้ง หมดที่ชั่วร้ายและเสื่อมทรามจะขัดขวางเขา
“แต่จะเป็นไปเพียงชั่วประเดี๋ยว และความทุกข์ทรมานทั้งหมดนี้จะไปจากเรา ตราบที่เราซื่อสัตย์และไม่ยอมแพีความชั่วร้ายเหล่านั้น โดยเห็นพรของเอ็นดาวเม้นท์ทำลังผ่านไปและอาณาจักรทำลังเพิ่มขึ้นและแผ่ขยายจากทะเลฟากนี้ไป ถึงทะเลฟากโน้น เราจึงชื่นชมยินดีที่เราไม่พ่ายแพ้สิ่งโง่เขลาเหล่านี้”6
“บางคนคิดว่าศัตรูของเราคงพอใจกับความพินาศของข้าพเจ้า แต่ข้าพเจ้า บอกท่านว่าทันทีที่พวกเขาทำให้เลือดข้าพเจ้าหลั่ง พวกเขาจะกระหายเลือดของ ทุกคนที่ใจจดจ่ออยู่กับประกายไฟน้อยๆ ของวิญญาณแห่งความสมบูรณ์ของ พระกิตติคุณ การต่อต้านของคนเหล่านี้ถูกวิญญาณของปรปักษ์แห่งความชอบ ธรรมทั้งมวลผลักดัน ไม่เพียงเพื่อทำลายข้าพเจ้าเห่านั้น แต่ทำลายชายหญิงทุก คนผู้กล้าเชื่อหลักคำสอนที่พระผู้เป็นเจ้าทรงดลใจข้าพเจ้าให้สอนคนรุ่นนี้”7
“ข้าพเจ้าเรียนรู้จากประสบการณ์ว่าศัตรูของความจริงไม่งีบหลับ และไม่ละ ความพยายามที่จะทำให้ชุมชนมีอคติต่อผู้รับใช้ของพระเจ้า โดยยั่วยุมนุษย์ให้ โกรธแค้นทุกเรื่องที่สำคัญหรือน่าสนใจ”8
ผู้รักพระผู้เป็นเจ้าจะทนรับการข่มเหงด้วยความกล้าหาญและศรัทธา
“สิทธิชนทุกท่าน! พึงใช้ กุญแจ สำคัญดอกนี้ให้เป็นประโยชน์—ในการทด ลองทั้งหมดของท่าน ความเดือดร้อน การล่อลวง ความทุกข์ทรมาน พันธนาการ การคุมขัง และความตาย ท่านต้องแน่ใจว่าจะไม่ทรยศต่อสวรรค์ ท่านจะ ไม่ทรยศต่อพระเยซูคริสต์ ท่านจะไม่ทรยศต่อพื่น้อง ท่านจะไม่ทรยศต่อการเปีด เผยของพระผู้เป็นเจ้า ไม่ว่าจะในพระคัมภีร์ไบเบิล พระคัมภีร์มอรมอน หรือ พระคัมภีร์คำสอนและพันธสัญญา หรืออื่นๆ ที่เคยหรือจะประทานและเปีดเผย ต่อมนุษย์ในโลกนี้หรือโลกที่จะมาถึง แต่ในการต่อสู้และการดิ้นรนทั้งหมดของ ท่าน ท่านต้องแน่ใจว่าท่านไม่ทำสิ่งนี้ เกลือกจะพบโลหิตของผู้บริสุทธี้อยู่ที่ชาย เสื้อของท่าน และท่านจะต้องตกนรก”9
ในฤดูใบไม้ผลิ ค.ศ. 1830 สิทธิชนถูกข่มเหงสืบเนื่องจากการจัดพิมพ์พระดับภีร์มอรมอน “พระคัมภีร์มอรมอน (ไม้ของโยเซฟในมือเอฟราอิม) จัดพิมพ์ มาไต้ระยะหนึ่งแล้ว และดังที่ศาสดาสมัยโบราณทำนายไว้ ‘เขาจะถือว่าเป็นเพียง ของแปลก’ [โฮเชยา 8:12] การปรากฎของหนังสือเล่มนี้ล่อให้เกิดความวุ่นวาย บิใช่น้อย การต่อต้านครั้งใหญ่และการข่มเหงมากมายเกิดขึ้นกับผู้เชื่อในความ จริงแท้ของหนังสือ แต่เหตุการณ์ใต้บังเกิดขึ้นคือความจริงงอกขึ้นมาจาก แผ่น ดินโลกและความชอบธรรมมองลงมาจากสวรรค์ [ดู สดุดี 85:11; โมเสส 7:62] ดังนั้นเราจึงไม่กลัวคู่ต่อสู้ของเรา โดยรู้ว่าเรามืทั้งความจริงและความชอบ ธรรมอยู่ฝ่ายเรา เรามืทั้งพระบิดาและพระบุตร เพราะเรามืหลักคำสอนของพระ คริสต์ และปฏิบัติตามหลักคำสอนเหล่านั้น และด้วยเหตุนี้เราจึงสั่งสอนต่อไป และให้ข้อมูลแก่ทุกคนที่ยินดีรับฟัง”10
ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1839 วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ์บันทึกดังนี้ “โจเซฟพูดกับ เราไม่กี่คำและกล่าวว่า ‘จำไว้พี่ห้องทั้งหลาย ถ้าท่านถูกคุมขัง บราเดอร์โจเซฟ เคยถูกคุมขังมาก่อนท่าน ถ้าท่านถูกกำหนดให้อยู่ในที่ที่ท่านเห็นได้ก็แต่พี่ห้อง ของท่านผ่านลูกกรงหน้าต่างขณะอยู่ในลูกกรงเหล็กเนื่องจากพระกิตติคุณของ พระเยซูคริสต์ จำไว้ว่าบราเดอร์ใจเซฟเคยอยู่ในสภาพนั้นมาแล้ว’”11
ในปี ค.ศ. 1841 ใจเซฟ สป็ธและที่ปรึกษาของท่านในฟายประธานสูงสุด เขียนดังนี้ “ความจริงเป็นเหมือนด้นโอ๊คที่ยืนด้นแข็งแรง ไม่ถูกทำลายท่ามกลางความขัดแย้งที่ซัดกระหนํ่าด้วยแรงมหาศาล นํ้าท่วมไหลบ่าติดๆ กันระลอก แล้วระลอกเล่า แต่ไม่ทำให้บันจมหาย ‘พวกเขาเปล่งเสียงดังนี้ ข้าแต่พระเจ้า กระแสนํ้าคะนอง แต่พระเจ้าจอมโยธาทรงมหิทธิฤทธิ์ยิ่งกว่าคลื่นทะเล’ [ดู สดุดี 93:3–4] อีกทั้งเปลวเพลิงของการข่มเหงและอิทธิพลทั้งสิ้นของกลุ่ม คนว้ายก็ไม่สามารถทำลายบันได้ แต่เฉกเช่นพุ่มไม้ของโมเสส มันไม่ไหม้ และ ขณะนี้ได้ภาพปรากฎแก่สายตามนุษย์และเหล่าเทพ
“เราจะเหลียวมองไปทางไหนเพี่อให้เห็นคนเช่นนั้น เราพินิจลูผู้คนที่น้อมรับ ระบบของศาสนาซึ่งไม่เป็นที่นิยมชมชอบและอุทิศตนให้กับศาสนานั้นซึ่งนำ การข่มเหงมาให้พวกเขาครั้งแล้วครั้งเล่า ผู้คนที่ยอมทนกับความหิวโหย ความ เปล่าเปลือย อันตราย และการสูญเสียเกือบทุกอย่างเพราะความรักที่พวกเขามี ต่อพระผู้เป็นเจ้าและเลื่อมใสในอุดมการณ์ของพระองค์ ผู้คนที่ด้องรํ่าไห้เพราะ การเสียชีวิตก่อนเวลาอันควรของบิดามารดา สามี ภรรยา และบุตรธิดาเพี่อ ศาสนาของเขา ผู้คนที่ยอมตายดีกว่าตกเป็นทาสและเป็นคนหน้าซื่อใจคด รักษา ศักดิ์ศรีของตน ยืนหยัดมั่นคงและไม่หวั่นไหวในช่วงเวลาของการทดสอบจิต วิญญาณของมนุษย์”12
ฤทธิ์เดชอันมหันต์ของพระผู้เป็นเจ้าจะคํ้าจุน คนที่ถูกข่มเหงเพื่อเห็นแก่ความชอบธรรม
ขณะถูกคุมขังอยู่ในคุกลิเบอร์ตี้ โจเซฟ สมิธเขียนถึงสิทธิชนดังนี้ “อย่าคิด ว่าใจเราอ่อนแอ ประหนึ่งว่าเหตุการณ์อันประหลาดได้เกิดขึ้นกับเรา [ดู 1 เปโตร 4:12] เพราะเราเห็นและรู้ล่วงหน้าแล้วว่าเรื่องทั้งหมดนี้ด้องเกิดขึ้น และมั่นใจ ว่ามีความหวังมากกว่าผู้ข่มเหงเรา ด้วยเหตุนี้พระผู้เป็นเจ้าจึงทรงทำให้เราแข็งแกร่งพอที่จะทนต่อภาระนั้นได้ เราปลาบปลื้มในความทุกข์ยากลำบากของเรา เพราะเรารู้ว่าพระผู้เป็นเจ้าทรงอยู่กับเรา พระองค์ทรงเป็นเพื่อนของเรา และ พระองค์จะทรงช่วยให้จิตวิญญาณของเรารอด เราไม่สนใจคนที่ฆ่าได้แต่ตัวเพราะ เขาทำลายจิตวิญญาณของเราไม่ได้ [ดู มัทธิว 10:28] เราไม่ได้ขอให้กลุ่มคนร้าย หรือโลก หรือมาร หรือตัวแทนของเขา ผู้กัดค้าน ผู้รักการมุสา ผู้ชอบป้นนํ้า เป็นตัว และคนสาบานเท็จเอาชีวิตเราไป เราไม่เคยเสแสร้าง ทั้งจะไม่ทำเช่นนั้น เพื่อเห็นแก่ชีวิตตนเอง… เราทราบว่าเราพากเพียรสุดความคิด สุดความสามารถ และสุดกำลังมาดลอดเพื่อทำตามพระประสงค์ของพระผู้เป็นเจ้า และทุกเรื่องที่ พระองค์ทรงบัญชาเรา…
“…พระผู้ช่วยให้รอดตรัสว่า ‘ถึงจำเป็นต้องมีเหตุให้หลงผิด แต่วิบัติแก่ผู้ที่ ก่อเหตุให้หลงผิดนั้น’ [ดู บัทธิว 18:7] และตรัสอีกครั้งว่า ‘เมื่อเขาจะติเตียน ข่มเหงและนินทาว่าร้ายท่านทั้งหลายเป็นความเท็จเพราะเรา ท่านก็เป็นสุข จง ชื่นชมยินดีเพราะว่าบำเหน็จของท่านมีบริบูรณ์ในสวรรค์ เพราะเขาได้ข่มเหงผู้ เผยพระวจนะทั้งหลายที่อยู่ก่อนท่านเหมือนกัน’ [มัทธิว 5:11–12]
“บัดนี้ พี่น้องที่รักทั้งหลาย หากมนุษย์คนใดมีเหตุผลให้เรียกร้องสัญญานี้ เราคือมนุษย์คนนั้น เพราะเรารู้ว่าโลกไม่เพียงเกลียดชังเราเท่านั้น แต่พวกเขาพูด ให้ร้ายเราสารพัด เพราะไม่มีเหตุผลอื่นใดนอกจากเหตุผลที่เราได้พากเพียรกัน ตลอดมาเพี่อสอนความบริบูรณ์แห่งพระกิตติคุณของพระเยซูคริสต์ …
“และบัดนี้พี่น้องที่รักยิ่ง—และเมื่อเราพูดว่าพี่น้อง เราหมายถึงคนที่ยังคง ซื่อสัตย์ในพระคริสต์ ชาย หญิง และเด็ก—เราใคร่ขอแนะนำท่านในพระนาม ของพระเจ้าพระเยซู ให้แข็งแกร่งในศรัทธาในพันธสัญญาใหม่และเป็นนิจ และ ไม่มีสิ่งใดที่ศัตรูจะทำให้เรากลัวได้… จงยืนหยัดแห้จนชีวิตจะหาไม่ เพราะว่า ‘ผู้ใดใคร่จะเอาชีวิตรอด ผู้นั้นจะเลียชีวิต แต่ผู้ใดจะเสืยชีวิตเพราะเห็นแก่เรา และข่าวประเสริฐ ผู้นั้นจะได้ชีวิตรอด’ พระเยซูคริสต์ตรัส [ดู มาระโก 8:35]”13
จากฅุกลิเบอร์ตี้เช่นกัน ศาสดาและที่ปรึกษาของท่านในฟ่ายประธานสูงสุด เขียนถึงผู้นำศาสนาจักรดังนี้ “พี่น้องทั้งหลาย อย่ากลัวเลย แต่จงมีกำลังใน พระเจ้าและในฤทธี้เดชอันมหันต์ของพระองค์ มนุษย์ที่ผู้รับใช้ของพระเจ้าควร กลัวคือใคร หรือบุตรของมนุษย์ที่เขาควรกลัวคือใคร อย่าคิดว่าการทดลองร้าย แรงที่เราประสบเป็นเรื่องแปลก ประหนึ่งว่าเหตุการณ์อันประหลาดได้เกิดขึ้น กับเรา จำไว้ว่าทุกคนล้วนได้รับความทุกข์ทรมานแบบนี้ [ดู 1 เปโดร 4:12–13] ด้วยเหตุนี้ จงชื่นชมยินดีในความทุกข์ทรมานของเรา ซึ่งทำให้ท่านดีพร้อม และซึ่งท่าให้ผู้เบิกทางสู่ความรอดของเราดีพร้อมเช่นกัน [ดู ฮีบรู 2:10] ขอ ให้ใจท่านและใจของสิทธิชนทุกคนได้รับการปลอบโยนพร้อมกับท่าน และขอ ให้พวกเขาชื่นชมยินดียิ่งเพราะรางวัลของเรามีบริบูรณ์ในสวรรค์ เพราะคนชั่ว ข่มเหงศาสดาซึ่งอยู่มาก่อนเราด้วยเหมือนกัน [ดู บัทธิว 5:11–12]”14
ข้อเลนอแนะสำหรับศึกษาและสอน
พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หน้า ⅶ–ⅹⅱ
-
อ่านทวนเรื่องราวในหน้า 399–401 ท่านประทับใจอะไรเกี่ยวกับวิธีที่โจเซฟ สมิธและเพื่อนสิทธิชนตอบสนองการข่มเหง ท่านคิดว่าเหตุใดคนเหล่านั้น จึงยอมอดทนต่อการข่มเหง
-
อ่านหน้า 402–403 ซึ่งศาสดาโจเซฟสอนว่าคนชอบธรรมจะเผชิญการข่มเหงเสมอ ท่านคิดว่าเหตุใดจึงเป็นเช่นนั้น การข่มเหงในทุกวันนี้คล้ายกับการ ข่มเหงในสมัยของโจเซฟ สมิธอย่าง’ใร แตกต่างกันอย่างไร
-
ในหน้า 403 โจเซฟ สมิธพูดถึงกุญแจดอกหนึ่งที่ช่วยสิทธิชน ประสบการณ์ ใดบ้างที่แสดงให้ท่านเห็นคุณค่าของกุญแจดอกนี้ ท่านจะให้คำแนะนำอะไร บ้างต่อคนที่กำลังเผชิญการข่มเหงเพราะศรัทธาของเขา (ดูตัวอย่างในหน้า 403–404)
-
อ่านทวนหน้า 404–406 ซึ่งโจเซฟ สมิธรับรองกับเราว่าพระเจ้าจะทรงคํ้าจุน เราเมื่อเราตอบสนองการข่มเหงด้วยศรัทธาและความกล้าหาญ ท่านคิดว่าพระผู้เป็นเจ้าทรง “ทำให้เราแข็งแกร่งพอที่จะทนต่อภาระนั้นได้” หมายความว่า อะไร เราจะ “ปลาบปลื้มในความทุกข์ยากลำบากของเรา” และ “ชื่นชม ยินดีในความทุกข์ทรมานของเรา” ได้อย่างไร ท่านคิดว่าความทุกข์ยากของ เราจะช่วยให้เราเป็นคนดีพร้อมได้อย่างไร
ข้อพระคัมภีร์พี่กี่ยวข้อง: มัทธิว 5:43–44; โรม 8:35–39; 2 นีไฟ 26:8; โมไซยา 24:8–16; 3 นีไฟ 6:13