บทนำ
ฟ่ายประธานสูงสุดและโควรัมอัครสาวกสิบสองจัดทำหนังสือชุด คำสอนของ ประธานศาสนาจักร เพื่อช่วยให้ท่านมีความเข้าใจลึกซึ้งยิ่งขึ้นในพระกิตติคุณ ที่ได้รับการฟื้นฟู และใกล้ชิดพระเจ้ามากขึ้นโดยผ่านคำสอนของศาสดายุคสูดห้าย เมื่อศาสนาจักรเพิ่มคำสอนของประธานท่านอื่นในชุดนี้ ท่านก็จะมี หนังสืออ้างอิงพระกิตติคุณสะสมไว้ใข้ที่ห้านมากขึ้น หนังสือในชุดนี้ออกแบบ ไว้ให้ใข้สำหรับการศึกษาส่วนตัว การสอนในโควรัมและชั้นเรียน
หนังสือเล่มนี้เห้นคำสอนของศาสดาโจเซฟ สบิธผู้ได้รับเรียกจากพระผู้เป็นเจ้าให้เปีดสมัยการประทานความสมบูรณ์แห่งเวลาในยุคสูดห้ายนี้ แบ้จะผ่าน ไปเพียงสองทศวรรษครึ่งระหว่างภาพปรากฎของพระบิดาและพระบุตรในฤดูใบ ไห้ผลิปี ค.ศ. 1820 กับมรณสักขีของท่านในเดือนมิถุนายน ปี ค.ศ. 1844 แต่ท่านก็ได้สถาปนาศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุคสูดห้ายและได้นำ ความสมบูรณ์ของพระกิตติคุณออกมา ซึ่งจะไม่ถูกนำไปจากแผ่นดินโลกอีกเลย
ศึกษาส่วนตัว
ขณะที่ท่านศึกษาคำสอนของศาสดาโจเซฟ สบิธ จงแสวงหาการดลใจจาก พระวิญญาณ พึงจดจำคำกัญญาของมีไฟที่ว่า “ผู้ที่แสวงหาอย่างพากเพียรจะพบ และความลับลึกของพระผู้เป็นเจ้าจะคลี่ต่อเขาโดยอำนาจของพระวิญญาณบริสูทธ” (1 นีไฟ 10:19) เริ่มการศึกษาของท่านด้วยการสวดอ้อนวอน สวดอ้อนวอนและไตร่ตรองในใจต่อไปขณะที่ท่านอ่าน
ท้ายบทแต่ละบทท่านจะพบคำถามและพระคัมภีร์ล้างอิงที่จะช่วยให้ท่านเข้าใจ และประยุกต์ใข้คำสอนของโจเซฟ สบิธ ท่านควรทบทวนสิ่งเหล่านี้ก่อนอ่าน เนื้อหาในแต่ละบท
พึงพิจารณาแนวทางต่อไปนี้
-
มองหาคํำาและวลีสำคัญๆ ถ้าท่านพบคำที่ไม่เข้าใจ ให้ใข้พจนานุกรมหรือ แหล่งช่วยอื่นเพื่อจะเข้าใจความหมายของคำนั้นดืขึ้น เขียนหมายเหตุไว้ที่ ช่องว่างริมหห้าเพื่อช่วยท่านจำสิ่งที่เรียนรู้มาเกี่ยวกับคำนั้น
-
นึกถึงความหมายในคำสอนของโจเซฟ สมิธ ท่านอาจทำเครื่องหมายวลีและ ประโยคที่สอนหลักธรรมพระกิตติคุณเฉพาะเรื่องหรือสัมผัสจิตใจท่านเปีน พิเศษ หรือเขียนความคิดและควาขรู้สึกของท่านไว้ที่ช่องว่างริมหน้า
-
ใคร่ครวญประสบการณ์ที่ท่านเคยมีซึ่งเกี่ยวข้องกับคำสอนของศาสดา
-
ไตร่ตรองว่าจะน่าคำสอนของใจเซฟ สมิธมาประยุกต็ไข้กับท่านอย่างไร พิจารณาว่าคำสอนเกี่ยวข้องอย่างไรกับข้อกังวลหรือข้อสงสัยที่ท่านมี ตัดสินใจ ว่าท่านจะท่าอะไรอันเป็นผลสืบเนื่องจากสิ่งที่ท่านเรียนรู้
สอนจากหนังสือเล่มนี้
หนังสือเล่มนี้ใข้สอนได้ทั้งที่น้านและที่โบสถ์ แนวทางต่อไปนี้จะช่วยท่าน
บุ่งเน้นคำสอนของโจเซฟ สมิธและพระคัมภีร์
พระเว้าทรงบัญชาว่าเราสอนโดย “ไม่กล่าวเรื่องอื่นใดนอกจากเรื่องซึ่ง ศาสดาและอัครสาวกเขียนไว้ และเรื่องซึ่งพระผู้ปลอบโยนสอน[เรา] โดยทาง คำสวดอ้อนวอนแห่งศรัทธา (ค.พ. 52:9) พระองค์ทรงประกาศด้วยว่า “เอ็สเตอร์ ปุโรหิต และผู้สอนของศาสนาจักรนี้จะสอนหลักธรรมของกิตติคุณ ของเรา ซึ่งมีอยู่ในพระคัมภีร์ไบเบิลและพระคัมภีร์มอรมอน ซึ่งในทั้นเป็นความ สมบูรณ์แห่งกิตติคุณ” (ค.พ. 42:12)
งานมอบหมายของท่านคือช่วยใน้ผู้อื่นเข้าใจและประยุกตัใข้พระกิตติคุณโดย ผ่านคำสอนของศาสดาโจเซฟ สบิธและพระคัมภีร์ อย่าสอนโดยไมใข้ในหนังสือ เล่มนี้หรือเตรียมบทเรียนจากหนังสือเล่มอื่น ใข้ส่วนสำคัญของบทเรียนไปกับ การอ่านคำสอนของโจเซฟ สบิธในหนังสือเล่มนี้และการสนทนาความหมาย ตลอดจนการประยุกต์ใข้
ขอใน้ผู้เรียนนําหนังสือเล่มนี้มาโบสถ์เพื่อพวกเขาจะพร้อมมีส่วนร่วมในการ สนทนาของชั้นเรียนมากขึ้น
แสวงหาการนำทางของพระวิญญาณบริสุทธิ์
เมื่อท่านสวดอ้อนวอนขอความช่วยเหลือและเตรียมบทเรียนด้วยความขยัน หมั่นเพียร พระวิญญาณบริสุทธิ์จะทรงนําทางท่าน พระองค์จะทรงช่วยท่านเน้น ยํ้าส่วนต่างๆ ของบทเรียนแต่ละบทซึ่งจะส่งเสริมผู้เรียนให้เข้าใจและนําพระกิตติคุณไปประยุกต์ไช้
เมื่อท่านสอน จงสวดอ้อนวอนในใจขอให้อำนาจของพระวิญญาณอยู่กับคำ พูดของท่านและการสนทนาในชั้น นีไฟกล่าวว่า “เมื่อคนใดพูดโดยอำนาจของ พระวิญญาณบริสุทธิ์ อำนาจของพระวิญญาณบริสุทธย่อมนำลำพูดไปสู้ใจของ ลูกหลานมนุษย์” (2 นีไฟ 33:1; ดู ค.พ. 50:13–22 ด้วย)
เตรียมสอน
บทเรียนในหนังสือเล่มนี้จัดเรียงตามลำดับเพื่อช่วยท่านเตรียมสอน หัวซ้อ ใหญ่ “จากชีวิตของโจเซฟ สมิธ” ในแต่ละบทจะให้ข้อมูลเกี่ยวกับชีวิตของโจเซฟ สมิธและประวัติศาสนาจักรในสมัยเริ่มแรกที่นำมาใซ้ในการแนะนำและ สอนบทเรียนได้ หัวข้อใหญ่ “ลำสอนของโจเซฟ สมิธ” แบ่งออกเปีนหัวข้อ ย่อยหลายหัวข้อ พร้อมหัวเรื่องสรุปประเด็นลำกัญในบท ท่านสามารถใซ้หัวเรื่อง เหล่านี้เป็นโครงร่างการสอนของท่าน หัวข้อสุดห้ายคือ “ข้อเสนอแนะลำหรับ ศึกษาและสอน” จะให้คำถามและพระคัมภีร์ที่เกี่ยวข้องกับคำสอน
ท่านจะประสบผลสำเร็จในการสอนของท่านมากขึ้นเมื่อท่าสิ่งต่อไปนี้
-
ศึกษาบทเรียน อ่านบทเรียนเพื่อให้มั่นใจว่าท่านเข้าใจลำสอนของโจเซฟ สมิธ ท่านจะสอนด้วยความจริงใจและด้วยพลังมากขึ้นเมื่อด้อยคำของศาสดา มีผลต่อตัวท่าน (ดู ค.พ. 11:21) ขณะอ่านให้นึกถึงความด้องการของผู้เรียน ท่านอาจจะทำเครื่องหมายคำสอนและหลักธรรมในบทเรียนซึ่งท่านรู้สึกว่าจะ ช่วยพวกเขา
-
ตัดสินใจว่าจะใช้ส่วนใด บทเรียนแต่ละบทมีเนื้อหามากเกินกว่าจะสอนได้ หมดในบทเรียนเดียว แทนที่จะพยายามสอนให้ครอบคลุมเนื้อหาทั้งบท ท่าน จงสวดอ้อนวอนแอ้วเสือกคำสอนและหลักธรรมที่ท่านรู้สึกว่าจะเปีนประโยชน์ ต่อผู้เรียนมากที่สุด ตัวอย่างเช่น ท่านอาจจะเลือกเน์นหัวข้อย่อยหนึ่งหรือ สองข้อ และคำถามสองสามข้อที่จะช่วยให้ผู้เรียนสนทนาหลักธรรมในหัวข้อ ที่ท่านเลือก
-
ตัดสินใจว่าจะนำเช้าสู่บทเรียนอย่างไร เพื่อจุดประกายความคิดให้เกิดความ สนใจตอนเริ่มด้นบทเรียน ท่านอาจจะเล่าประสบการณ์ส่วนตัวหรือขอให้ผู้ เรียนอ่านเรื่องหนึ่งจากตอนเริ่มด้นบทเรียนหรือลูรูปในบท แอ้วท่านอาจจะ ถามว่า “เรื่องนี้ (หรือรูปนี้) สอนอะไรเกี่ยวกับหัวข้อหลักของบทเรียน” ทางเลือกอื่นๆ สำหรับเริ่มบทเรียนได้แก่ อ่านพระคัมภีร์หรือข้อความอ้างอิง จากบทเรียนหรือร้องเพลงสวด อีกความคิดหนึ่งที่ช่วยได้คือใหัผู้เรียนรู้ว่า ประเด็นหลักของบทเรียนคืออะไร ท่านอาจจะอยากใหัผู้เรียนนึกถึงบทเรียน คราวก่อนจากหนังสือเล่มนี้โดยขอให้เขาหวนนึกถึงเหตุการณ์ ผู้คน หลักธรรม หรือคำสอนที่เคยสนทนา
-
ตัดสินใจว่าจะส่งเสริมการสนทนาอย่างไร นึ่คือส่วนที่ท่านควรไข้เวลามากที่ สุดในบทเรียน เพราะผู้เรียนจะเรียนรู้คำสอนและหลักธรรมได้ดีที่สุดเมื่อพวก เขามีส่วนร่วมในการสนทนา อ่านทวนข้อเสนอแนะสำหรับการดำเนินการ สนทนาอย่างสร้างสรรคํในหน้า ⅹⅰ–ⅹⅱ ของหนังสือเล่มนี้ ท่านอาจใข้คำถาม จาก “ข้อเสนอแนะสำหรับศึกษาและสอน” ห้ายบท หรือจะตั้งคำถามเอง ก็ได้โดยใข้แนวทางต่อไปนี้
-
ถามคำถามที่ช่วยให้ผู้เรียนอ้นหาข้อเท็จจริง เหตุการณ์ คำสอน และหนักธรรม คำถามลักษณะนี้จะช่วยให้ผู้เรียนบุ่งเน้นความจริงเฉพาะที่ท่านประสงค์ จะเน้นและคุ้นเคยกับข้อมูลเฉพาะอย่างในคำสอนของศาสดา ตัวอย่างเช่น หลังจากระบุข้อความอ้างอิงตอนหนึ่งแห้ว ท่านอาจถามว่า “มีคำหรือวลีสำคัญๆ อะไรห้างในข้อความนี้” หรือ “อะไรคือหัวข้อของข้อความตังกล่าว”
-
ถามคำถามที่ช่วยให้ผู้เรียนนึกถึงคำสอนและหลักธรรมที่โจเซฟ สมิธสอน คำถามลักษณะนี้จะส่งเสริมผู้เรียนให้สำรวจและแบ่งปันความคิดตลอดจน ความรู้สึกของพวกเขาเกี่ยวกับคำสอนของใจเซฟ สมิธ ตัวอย่างเช่น “ท่าน คิดว่าเหตุใดคำสอนนี้จึงสำคัญ” หรือ “ท่านมีความคิดหรือความรู้สึกอย่างไร ห้างเกี่ยวกับข้อความนี้” หรือ “คำสอนนี้มีความหมายต่อท่านอย่างไร”
-
ถามคำถามที่ส่งเสริมผู้เรียนให้เปรียบเทียบสิ่งที่เรียนรู้จากคำสอนของศาสดา กับความคิด ความรู้สึก และประสบการณ์ของพวกเขา ตัวอย่างเช่น “ท่าน เคยมีประสบการณ์อะไรห้างซึ่งสอดคลัองกับสิ่งที่ศาสดาโจเซฟ สมิธพูดไว้”
-
ถามคำถามที่ช่วยให้ผู้เรียนนำสิ่งที่ได้รับการสอนไปประยุกต่ไข้กับชีวิต คำถามเหล่านี้จะช่วยให้ผู้เรียนคิดหาวิธีที่พวกเขาจะสามารถดำรงตนตามคำสอน ของโจเซฟ สมิธได้ ตัวอย่างเช่น “ใจเซฟ สมิธกำลังส่งเสริมเราให้ทำอะไร เราจะนำสิ่งที่ท่านพูดไปประยุกตัใชในทางใด” เตือนผู้เรียนให้ระลึกว่าพวก เขาจะไม่เพียงเรียนรู้จากสิ่งที่กล่าวไว้เท่านั้น แต่จากการเปีดเผยที่มาถึงพวก เขาโดยตรงด้วย (ดู ค.พ. 121:26)
-
-
ตัดสินใจว่าจะสรุปบทเรียนอย่างไร ท่านอาจเลือกสรุปบทเรียนอย่างรวดเร็ว หรือขอให้ผู้เรียนหนึ่งหรือสองคนเป็นผู้สรุป เป็นพยานถึงคำสอนที่ท่านสนทนาไปแล้วเมื่อพระวิญญาณกระตุ้นเตือน ท่านอาจขอให้คนอื่นๆ แสดงประจักษ์พยานของพวกเขา ส่งเสริมผู้เรียนให้ทำตามการกระตุ้นเตือนที่พวกเขา ได้รับจากพระวิญญาณบริสุทธิ์
ขณะเตรียมสอน ท่านอาจล้นหาแนวคิดใน ไม่ปีการเรียกใดยิ่งใหญ่กว่าการ สอน (36123 425) ภาค ข บทที่ 14, 16, 28, และ 29 หรือใน หนังสือ แนะแนวการสอน (34595 425)
ดำเนินการสนทนาอย่างสร้างสรรค์
แนวทางต่อไปนี้จะช่วยท่านส่งเสริมและดำเนินการสนทนาอย่างสร้างสรรค์
-
แสวงหาการนําทางจากพระวิญญาณบริสุทธี้ พระองค์อาจจะทรงกระตุ้นเตือน ท่านให้ถามคำถามบางอย่างหรือรวมบางคนไว้ในการสนทนา
-
ช่วยให้ผู้เรียนบุ่งเห้นคำสอนของศาสดาโจเซฟ สมิธ ให้พวกเขาอ่านคำพูด ของท่านเพื่อให้เกิดการสนทนาและตอบคำถาม ล้าการสนทนาเริ่มออกนอก ประเด็นหรือเกิดการคาดเดาหรือความขัดแย้ง ให้นําการสนทนากลับเข้าลู่ ประเด็นโดยกลับไปล้างเหตุการณ์ คำสอน หรือหลักธรรมในบทเรียน
-
หากเห็นสมควรให้เล่าประสบการณ์ที่เกี่ยวข้องกับคำสอนในบทเรียน
-
ส่งเสริมผู้เรียนให้แบ่งปันความคิด ซักถาม และสอนกันและกัน (ดู ค.พ. 88:122) ตัวอย่างเช่น ท่านอาจจะขอให้พวกเขาแสดงความเห็นในสิ่งที่ผู้ อื่นพูด หรือท่านอาจใข้คำถามข้อเดียวแต่ให้ผู้เรียนหลายคนตอบ
-
อย่ากลัวความเงียบหลังจากที่ท่านถามคำถาม ผู้เรียนมักด้องการเวลาคิดหรือ หาคำตอบในหนังสือก่อนจะแบ่งปันความคิด ประจักษ์พยาน และประสบการณ์
-
ตั้งใจฟ้ง และพยายามเข้าใจความคิดเห็นของทุกคน กล่าวขอบคุณสำหรับ การมีส่วนร่วมของพวกเขา
-
เมื่อผู้เรียนแบ่งปันแนวคิดหลายประการ ท่านอาจจะขอให้คนใดคนหนึ่งเขียน แนวคิดเหล่านี้บนกระดาน
-
หาวิธีต่างๆ ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสนทนา ตัวอย่างเช่น ท่านอาจจะให้ พวกเขาสนทนาคำถามเปีนกลุ่มเล็กหรือกับคนที่นั่งติดกัน
-
ติดต่อผู้เรียนหนึ่งหรือสองคนล่วงหห้า ขอให้เขาเตรียมตอบคำถามข้อหนึ่งที่ ท่านเตรียมไว้
-
ใช้เพลงสวด โดยเฉพาะเพลงสวดเกี่ยวกับการฟื้นฟู เฟื่อเสริมนํ้าหนักการ สนทนาความจริงพระกิตติคุณ การร้องเพลงสวดเป็นวิธีหนึ่งด้วยที่ใข้ได้ผลใน การนำเข้าสู่บทเรียนหรือสรุปบทเรียน
-
อย่าตัดบทการสนทนาที่ดีเพียงเพราะด้องการสอนให้ครอบคลุมเนื้อหาทั้งหมด ที่ท่านเตรียมไว้ สิ่งส่ากัญที่สุดคือผู้เรียนด้องรู้สึกถึงอิทธิพลของพระวิญญาณ และมีปณิธานแน่วแน่มากขึ้นว่าจะดำเนินชีวิตตามพระกิตติคุณ
คำสอนสำหรับยุคสมัยของเรา
หนังสือเล่มนี้พูดถึงคำสอนของศาสดาโจเซฟ สมิธที่ประยุกตัใข้ได้กับยุค สมัยของเรา ตัวอย่างเช่น หนังสือเล่มนี้ไม่ได้พูดถึงหัวข้อต่างๆ เช่น คำสอน ของศาสดาเกี่ยวกับกฎแห่งการอุทิศตามที่เคยใข้กับการเป็นผู้พิทักษ์ทรัพย์สิน พระเว้าทรงถอนกฎนี้จากศาสนาจักรเพราะสิทธิชนไม่พร้อมจะดำเนินตาม (ดู บทนำใน ค.พ. 119) หนังสือเล่มนี้ไม่ได้พูดถึงพหุสมรสด้วย คำสอนและหลักธรรมเกี่ยวกับพหุสมรสเปีดเผยต่อโจเซฟ สมิธเมื่อด้นปี ค.ศ. 1831 ศาสดาสอน คำสอนเรื่องพหุสมรส และมีการปฏิบัติพหุสมรสอยู่ห้างในช่วงชีวิตของท่าน เป็นเวลาหลายทศวรรษติดต่อกันที่สมาชิกจำนวนมากของศาสนาจักรปฏิบัติ พหุสมรสภายใด้การกำกับดูแลของประธานศาสนาจักรผู้สืบทอดดำแหน่งต่อ จากโจเซฟ สมิธ คริสต์ศักราช 1890 ประธานวิลฟอร์ด วูดรัฟฝ์ออกแถลงการณ์ ให้ยุติพหุสมรสในศาสนาจักร (ดู แถลงการณ์ 1) ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์ แห่งสิทธิชนยุคสุดห้ายไม่สอนเรื่องพหุสมรสอีก
ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งอ้างอิงที่กล่าวไว้ไนหนังสือเล่มนี้
คำสอนของศาสดาโจเซฟ สมิธในหนังสือเล่มนี้หยิบยกมาจากหลายแหล่ง อาทิ คำเทศนาของศาสดา บทความที่ศาสดาเตรียมด้วยตัวท่านเองหรือภายใต้ การกำกับดูแลของท่านเพื่อจัดพิมพ์ จดหมายและบันทึกส่วนตัวของศาสดา บันทึกความทรงจำของผู้ที่เคยฝ์งศาสดาพูด และคำสอนตลอดจนงานเขียนบาง ส่วนของศาสดาที่ต่อมาได้รวมไว้ในพระคัมภีร์ คำสอนมากมายของใจเซฟ สมิธ อ้างจาก History of the Church สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวคับแหล่งอ้างอิง เหล่านี้ลูได้ที่ภาคผนวกท์ายเล่ม
หนังสือเล่มนี้อ้างข้อมูลจากแหล่งอื่นที่ไม่ได้จัดพิมพ์ด้วย มีการปรับเปลี่ยน ตัวสะกด เครื่องหมายวรรคตอน ไวยากรณ์ และการแบ่งย่อหบัาตามมาตรฐาน เพื่อให้อ่านง่ายขึ้น ส่วนข้อความอ้างอิงจากแหล่งที่จัดพิมพ์ไว้แอ้วจะยกมาโดย ไม่มีการปรับเปลี่ยนใดๆ เว้นแต่จะระบุเป็นอื่น เนื้อหาทั้งหมดในวงเล็บเหลี่ยม เขียนเพิ่มเติมโดยกองบรรณาธิการของหนังสือเล่มนี้ เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอื่น