คำสอนของประธานศาสนจักร
ชีวิตและการปฏิบัติศาสนกิจ ของโจเขฟ สมิธ


ชีวิตและการปฏิบัติศาสนกิจ ของโจเขฟ สมิธ

“โจเซฟ สมิธ ศาสดาและผู้พยากรณ์ของพระเจ้าทำเพื่อความรอดของ คนในโลกนี้ยิ่งกว่าคนอื่นใดในโลกที่เคยมีชีวิตอยู่ในโลก” (ค.พ. 135:3) คำ ประกาศอันน่าพิศวงนี้พูดถึงชายคนหนึ่งผู้ได้รับเรียกจากพระผู้เป็นเจ้าเมื่ออายุ 14 ปีและมีชีวิตอยู่ถึงอายุ 38 ปีเท่านั้น ระหว่างการเกิดของโจเซฟ สมิธในรัฐ เวอร์มอนท์เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 1805 อับการเสียชีวิตอันน่าโศกสลดของ ท่านในรัฐอิลลินอยส์เมื่อเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1844 เกิดเรื่องน่าอัศจรรย์ขึ้นมาก มาย พระผู้เป็นเจ้าพระบิดาและพระบุตรของพระองค์พระเยซูคริสต์ทรงปรากฎ ต่อท่าน โดยทรงสอนท่านให้รู้ถึงพระลักษณะของพระผู้เป็นเจ้ามากกว่าที่เคยรู้ กันมานานหลายศตวรรษ เหล่าศาสดาและอัครสาวกสมัยโบราณมอบอำนาจ ฐานะปุโรหิตอันศักคิ์สิทธิ์ให้โจเซฟ โดยทําให้ท่านเป็นพยานคนใหม่มื่ได้รับ มอบอำนาจจากพระผู้เป็นเจ้าในการสมัยการประทานสุดห้ายนี้ ความรู้และคำ สอนมากมายนับไม่ด้วนได้รับการเปีดเผยผ่านศาสดา รวมถึงพระคัมภีร์มอรมอน พระคัมภีร์คำสอนและพันธสัญญา และพระคัมภีร์ไข่บุกอันลํ้าค่า ศาสนาจักรที่ แห้จริงของพระเจ้าได้รับการจัดตั้งอีกครั้งบนแผ่นดินโลกโดยผ่านท่าน

ป้จจุมันงานทื่โจเซฟ สมิธเริ่มไว้ยังคงเจริญรุดห้้้น้าทั่วโลก ประธานวิลฟอร์ด วูดรัฟฟ้เป็นพยานถึงศาสดาโจเซฟ สมิธดังนี้ “ท่านคือศาสดาของพระผู้เป็นเจ้า ท่านวางรากฐานของงานและสมัยการประทานยิ่งใหญ่ทื่สุดเท่าที่เคยสถาปนา บนแผ่นดินโลก”1

บรรพชนและวัยเด็ก

โจเซฟ สมิธเป็นชาวอเมริกันรุ่นที่หก บรรพชนของท่านอพยพจากประเทศ อังกฤษมาอยู่อเมริกาในทศวรรษที่ 1600 บรรพชนของศาสดาถึอเป็นแบบฉบับ ของลักษณะพิเศษที่มักสัมพันธ์อับชาวเอมริอันรุ่นแรกๆ อาทิ พวกเขาเชื่อว่า พระผู้เป็นเจ้าทรงดูแลพวกเขาโดยตรง พวกเขามีจรรยาบรรณที่ดืในการท่างาน พวกเขาพากเพียรรับใช้ครอบครัวและประเทศชาติ

บิดามารดาของโจเซฟ สบิธคือโจเซฟ สบิธ ซีเมียร์และลูซี แม็ค สบิธ แต่งงานกันในปี ค.ศ. 1796 ที่เมืองทุนบริดจ์ รัฐเวอร์มอนท์ พวกท่านเป็นคู่ สามีภรรยาที่ทํางานหนักและเกรงกลัวพระผู้เป็นเจ้า ผู้เริ่มต้นชีวิตแต่งงานภาย ใต้ภาวะการเงินที่ราบรื่น น่าเศร้าที่โจเซฟ ซีเนียร์ต้องสูญเสียบ้านและฟาร์มแห่ง แรกของเขา และต้องทนรับความพลิกผันทางการเงินต่อจากนั้นอีกหลายปี ครอบครัวสมิธถูกบีบใบ้ย้ายหลายครั้งขณะที่บิดาพยายามหาเลี้ยงชีพค้วยการ ทําฟาร์มบนเนินเขาของนิวอิงแลนด์ซึ่งเขียวชอุ่มค้วยพรรณไบ้ รับจ้างทํางานที่ ฟาร์มอื่น ทําธุรกิจการบ้า หรือไม่ก็สอนหนังสือ

โจเซฟ สบิธ จูเนียร์เกิดเมื่อวันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ. 1805 ในเมืองชารอน รัฐเวอร์มอนท์ เป็นบุตรคนที่บ้าในจำนวนสิบเอ็ดคน และไต้รับการตั้งชื่อตาม บิดาของท่าน บุตรในครอบครัวสบิธเรียงตามลำตับการเกิดมืตังนี้ บุตรชายที่เสีย ชีวิตตอนเกิด (ยังไม่ไต้ตั้งชื่อ) อัลวิน ไฮรัม โซโฟรเมีย โจเซฟ แซบิวเอล เอฟราอิม (มีชีวิตไม่ถึงสองสัปดาห์) วิลเสียม แคธารืน ดอนคาร์ลอส และลูซี2

หลักฐานบ่งบอกอุปนิสัยที่เหนือธรรมดาของศาสดาปรากฎใบ้เห็นแต่เยาว์วัย ในชีวิตท่าน ครอบครัวสบิธอยู่ในเวสด์เลบานอน รัฐนิวแฮมพ์เชียร์เมื่อไข้ไทฟอยด์ซึ่งเป็นโรคระบาดร้ายแรงถึงชีวิตจู่โจมคนมากมายในชุมชน รวมทั้งเด็ก ตระกูลสบิธทุกคนค้วย ขณะที่เด็กคนอื่นๆ หายเป็นปกติโดยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน แต่ใจเซฟซึ่งอายุประมาณเจ็ดขวบกลับติดเชื้อรุนแรงที่ขาซ้าย ดร.นาธาน สบิธจากวิทยาลัยแพทย์ดาร์ทเมาท์ในเมืองแฮนโอเวอร์ รัฐนิวแฮมพ์เชียร์ตกลง ว่าจะลองใซ้การผ่าดัดแบบใหม่เพื่อรักษาขาของเด็กชายเอาไว์ ขณะที่ ดร. สบิธ กับเพื่อนร่วมงานของเขามายืนอยู่รอบๆ โจเซฟ ท่านขอใบ้มารดาออกไปนอก บ้องเพื่อเธอจะไม่เห็นความทุกข์ทรมานของท่าน โจเซฟอดทนอย่างกบ้าหาญ ขณะศัลยแพทย์เจาะและต้ดกระดูกขาส่วนหนึ่งของท่านออกโดยไม่ยอมดื่มเหบ้า บรรเทาความเจ็บปวดและพึ่งพาก็แต่บ้อมกอดที่ทําใบ้มั่นใจของบิดาท่านเท่านั้น การผ่าตัดประสบผลสำเร็จ แบ้โจเซฟจะต้องใซ้ไบ้เท้านานติดต่อกันหลายปีและ เดินขากะเผลกเล็กบ้อยตลอดชีวิตที่เหลือของท่าน

คริสต์ศักราช 1816 หลังจากเก็บเกี่ยวพืชผลไม่ไต้หลายครั้ง โจเซฟ สบิธ ซีเนียร์ก็ย้ายครอบครัวออกจากเมืองนอร์วิช รัฐเวอร์มอนท์ไปที่เมืองพอลไมรา รัฐนิวยอร์ก โดยหวังว่าจะพบทำเลที่อุดมสมบูรณ์กว่านี้ “โดยที่อยู่ในสภาพยากจนข้นแบ้น” ศาสดาหวนนึกถึงในอีกหลายปีต่อมา “[เรา] จึงต้องท่างานหนัก เพื่อจุนเจือครอบครัวใหญ่… เนื่องค้วยต้องใซ้ความพยายามอย่างเต็มที่เพื่อช่วย เหลือจุนเจือครอบครัว พวกเราจึงหมดโอกาสที่จะไต้รับประโยชน์จากการศึกษา พอจะกล่าวได้ว่าข้าพเจ้ามีความรู้เฉพาะการอ่าน การเขียน และกฎพื้นฐานด้าน คณิตศาสตร์เท่านั้น”3

ภาพปรากฏคริ้งแรก

โจเซฟ สมิธเขียนว่า “ข้าพเจ้าเกิด…จากบิดามารดาแสนประเสริฐผู้ไม่ละ ความพยายามที่จะสอนข้าพเจ้าให้รู้จักศาสนาคริสต์”4 แต่เช่นเดียวกับชาวคริสต์ อื่นๆ อีกหลายคน บิดามารดาของโจเซฟทราบดีว่าหลักธรรมพระกิตติคุณ บางข้อที่พระเยซูและอัครสาวกของพระองค์สอนไว้ไม่มีอยู่ในศาสนาจักรยุคนั้น ในเขตพอลไมรา ค.ศ. 1820 ศาสนาคริสต์นิกายต่างๆ พยายามพูดเกลี้ยกล่อม ผู้เปลี่ยนใจเลื่อมใส มารดาของโจเซฟ พี่ชายสองคนของท่าน และพี่สาวของ ท่านเข้าร่วมกับนิกายเพรสไบทีเรียนในท่องที่ แต่โจเซฟกับบิดาและอัลวินพี่ ชายไม่เข้าร่วมกับศาสนาจักรใด แท่จะยังเด็ก แต่โจเซฟมีความสนใจอย่างลึกซึ้ง เกี่ยวกับฐานะของท่านต่อเบื้องพระพักตร์พระผู้เป็นเว้าและความสับสนท่ามกลางกลุ่มศาสนาต่างๆ

ในระหว่างศึกษาพระคัมภีร์ โจเซฟวัย 14 ปีประทับใจข้อความตอนหนึ่งจาก หนังสือยากอบ “ถ้าผู้ใดในพวกท่านขาดสติปัญญา ก็ให้ผู้นั้นทูลขอจากพระเจ้า ฝู้ทรงโปรดประทานให้แก่คนทั้งปวงด้วยพระกรุณาและบิได้ทรงตำหนิ แล้วผู้ นั้นก็จะได้รับสิ่งที่ทูลขอ” (ยากอบ 1:5) โดยได้รับแรงบันดาลใจจากคำสัญญา ข้อนี้ของพระเจ้า โิิืจเซฟจึงเข้าไปสวดอ้อนวอนในป่าใกล้ห้านในวันฤดูใบไห้ผลิ ปี ค.ศ. 1820 ท่านคุกเข่าทูลความปรารถนาในใจท่านต่อพระผู้เป็นเจ้า ทันใด นั้นท่านถูกอำนาจของความมืดมาตรึงไถ้ ทําให้ท่านหมดสิ้นเรี่ยวแรงจะด้านทาน และกลัวว่าท่านจะถูกทําลาย ต่อจากนั้น เพื่อตอบคำสวดถ้อนวอนที่จริงใจของ ท่าน ห้องฟ้าเปีดและท่านได้รับการปลดปล่อยจากศัตรูที่มองไม่เห็น ในลําแสง สว่างจ้ากว่าดวงอาทิตย์ ท่านเห็นสองพระองค์ผู้ทรงยืนเหนือท่านในอากาศ องค์หนึ่งรับสั่งโดยทรงเรียกชื่อเด็กหนุ่มและตรัสว่า “นี่คือบุตรที่รักของเรา จง ฟ้งท่าน!” (โจเซฟ สมิธ—ประวัติ 1:17)

ในปรากฎการณ์อันน่าชื่นชมยินดีนี้ พระผู้เป็นเจ้าพระบิดาและพระบุตรของ พระองค์ พระเยซูคริสต์ทรงปรากฎองค์ต่อเด็กหนุ่มโิิืจเซฟ โิิืจเซฟสนทนากับ พระเจ้าผู้ทรงบอกท่านไม่ให้เข้าร่วมกับศาสนาจักรใดในสมัยนั้น เพราะ “เขา ผิดทั้งหมด” และ “ความเชื่อถือทั้งหมดของพวกเขาเป็นความน่าชิงชังในสาย พระเนตรของพระองค์… เขาสอนบัญญัติของมนษย์โดยมืแบบของความเป็น พระผู้เป็นเจ้าเป็นคำสอน แต่เขาปฏิเสธอำนาจในนั้น” (โจเซฟ สมิธ—ประวัติ 1:19) พระเจ้าทรงส้ญญากับโิิืจเซฟด้วย “ว่าความสมบูรณ์ของพระกิตติคุณจะ เป็นที่รู้แก่ [ท่าน] ในอนาคตอันใกล้นี้”5 หลังจากหลายศตวรรษของความมืด ทางวิญญาณ พระคำของพระเจ้าและการตำรงอยู่จริงของพระผู้เป็นเจ้าพระบิดา และพระบุตรของพระองค์ พระเยซูคริสต์ก็ได้เปิดเผยต่อโลกผ่านบุคคลที่อายุ ห้อยและบริสุทธี้คนนี้

การเยือนของโมโรไน

สามปีผ่านไป ระหว่างนั้นคนอื่นๆ ในชุมชนพาอันหัวเราเยาะและเย้ยหยันคำ ประกาศของโจเซฟ สบิธที่ว่าท่านเห็นพระผู้เป็นเจ้า ศาสดาหนุ่มซึ่งบัดนี้อายุ 17 ปี สงสัยว่ามือะไรรอท่านอยู่ ในคืนวันที่ 21 อันยายน ค.ศ. 1823 ท่านสวดอ้อนวอนอย่างจริงจังเพื่อทูลขอการนําทางและทูลขออภัยในความอ่อนแอและ ความบกพร่องของท่านตามประสาคนหนุ่ม ในการตอบคำสวดอ้อนวอนของท่าน มีแสงสว่างเต็มห้องนอนใด้หลังคา และทูตสวรรค์ชื่อโมโรไนมาปรากฎ “[ท่าน] ประกาศว่าตัวท่านเป็นเทพของพระผู้เป็นเจ้า” โจเซฟทบทวนความจำ “ถูกส่ง มาเพื่อแจ้งข่าวอันน่าชื่นชมยินดีว่าพันธสัญญาซึ่งพระผู้เป็นเจ้าทรงทํากับอิสราเอลสมัยโบราณจวนจะมีสัมฤทธิผลแล้ว ว่างานเตรียมรับการเสด็จมาครั้งที่สอง ของพระมาไซยาจะเริ่มต้นอย่างรวดเร็ว ว่าเวลามาใกล้แล้วที่จะสั่งสอนพระกิตติคุณอันสมบูรณ์ต้วยพลังอำนาจแก่ประชาชาติทั้งหลายเพื่อผู้คนจะพร้อมรับ การปกครองยุคนิลเสเนียม ท่านบอกข้าพเจ้าว่าข้าพเจ้าไต้รับเลือกให้เป็นเครื่อง มือในพระหัตถ์ของพระผู้เป็นเจ้าเพื่อทําให้จุดประสงค์บางประการของพระองค์ บังเกิดผลในสมัยการประทานอันรุ่งโรจน์นี้”6

โมโรไนบอกโจเซฟต้วยว่างานเขียนสมัยโบราณที่เหล่าศาสดาสมัยโบราณ จารึกไร้บนแผ่นทองคำถูกฝ้งอยู่ในเนินเขาใกล้ห้านท่าน บันทึกศักดิ์สิทธี้นี้พูด ถึงผู้คนที่พระผู้เป็นเจ้าทรงนําออกจากเยรูซาเล็มมายังซีกโลกตะวันตกเมื่อ 600 ปีก่อนการประสูติของพระคริสต์ โมโรไนคือศาสดาคนสูดท้ายท่ามกลางคนเหล่า นี้และเป็นผู้ฝืงบันทึก ซึ่งพระผู้เป็นเจ้าทรงสัญญาว่าจะนําออกมาในยุคสูดห้าย โจเซฟ สนิธต้องแปลงานศักดิ์สิทธี้นี้เป็นภาษาอังกฤษ

โจเซฟต้องไปพบโมโรไนที่เนินเขาลูกนั้นทุกวันที่ 22 อันยายนติดต่ออันสี่ปี เพื่อรับความรู้และอำแนะนําเพิ่มเติม ท่านจำเป็นต้องมีช่วงเวลาหลายปีของ การเตรียมและการขัดเกลาส่วนตัวเพื่อแปลบันทึกโบราณ ท่านต้องพร้อมนํางาน หนึ่งออกมาซึ่งจุดประสงค์ของงานนี้คือทําให้ “ชาวยิวและคนต่างชาติตระหนัก ว่าพระเยซูคือพระคริสต์ พระผู้เป็นเจ้าผู้สถิตนิรันดร์ ทรงแสดงองค์ให้ประจักษ์ แก่ประชาชาติทั้งหลาย” (หห้าชื่อเรื่องของพระคัมภีร์มอรมอน)

สถาปนาอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้าบนแผ่นดินโลก

เริ่มการแปลพระคัมภีร์มอรมอน

ระหว่างที่ท่านรอรับแผ่นจารึกทองคำ โจเซฟ สนิธช่วยทํางานหารายไต้จุนเจือครอบครัว คริสต์ ศักราช 1825 ท่านไปทํางานให้โจสิยาห์ สโตเวลล์ที่เมืองฮาร์โมนี รัฐเพนน์ซิลเวเมีย ท่านพัก อยู่ก้บครอบครัวของไอแซคและเอลิซาเบ็ธ เฮล และไต้พบก้บเอ็มมาบุตรสาวของพวกเขา เธอ เปีนครูสอนหนังสือ ร่างสูง ผมดำ วันที่ 18 มกราคม ค.ศ. 1827 โจเซฟและเอ็มมาแต่งงาน กันที่เมืองเซาธ์เบนบริดจ์ รัฐนิวยอร์ก แม้ชีวิตแต่งงานของท่านจะถูกทดสอบ ด้วยการเสียชีวิต ของบุตรธิดา ปัญหาการเงิน และโจเซฟไม่ค่อยได้อยู่ม้าน เพราะมืหม้าที่ด้องทํา แต่โจเซฟกับเอ็มมาก็รักกันอย่างสุดซึ้ง

วันที่ 22 กันยายน ค.ศ. 1827 สี่ปีหล้งจากเห็นแผ่นจารึกครั้งแรก ในที่สุด โจเซฟก็ได้รับแผ่นจารึก แต่พอแผ่นจารึกอยู่ในความดูแลของท่าน กล่มคนร้าย ในท้องที่ก็ได้พยายามอย่างหนักอยู่หลายครั้งเพื่อขโมยแผ่นจารึกเหล่านั้น ใน เดือนธันวาคม ค.ศ. 1827 โจเซฟกับเอ็มมากลับไปฮาร์โมนีเมืองที่บิดามารดา ของเอ็มมาอาศัยอยู่เพื่อหลีกเลี่ยงการข่มเหงครั้งนี้ เมื่อตั้งรกรากที่นั่นแล้วโจเซฟ เริ่มแปลแผ่นจารึกโดยมืเอ็มมาเป็นคนหนึ่งซึ่งรับหม้าที่เป็นผู้จดรุ่นแรกของท่าน

ด้นปีคริสต์ศักราช 1828 บาร์ดิน แฮร์ริส เกษตรกรผู้มั่งคั่งจากเมืองพอลไมรา ได้รับประจักษ์พยานเกี่ยวกับงานยุคสุดท้ายของพระเจ้าและเดินทางไปฮาร์โมนี เพื่อช่วยงานแปลของโจเซฟ ราวเดือนมิถุนายนของปีนั้นท่านแปลได้ด้นฉบับ 116 หม้า บาร์ดินขออนุญาตศาสดาหลายครั้งเพื่อนำด้นฉบับกลับม้านในพอสไบราไปให้สมาชิกบางคนในครอบครัวดู ศาสดาทูลขอพระเจ้าและถูกปฏิเสธ แต่ท่านทูลขอพระเจ้ามากกว่าสองครั้งและสุดท้ายก็ได้รับอนุญาตให้บาร์ดินนำ ด้นฉบับไป ขณะอยู่ในพอลไมราด้นฉบับถูกขโมยและไม่ได้คืนอีกเลย พระเจ้า ทรงนำแผ่นจารึก ยูรัมกับธัมน้ม และของประทานแห่งการแปลไปจากศาสดาช่วง ระยะเวลาหนึ่งเพื่อให้ท่านอ่อนม้อมถ่อมตนและกลับใจ ในการเปิดเผยจาก พระเจ้า โจเซฟเรียนรู้ว่าท่านด้องเกรงกลัวพระผู้เป็นเจ้ามากกว่ามนุษย์เสมอ(ดู ค.พ. 3) หลังจากนั้น แม้จะอายุเพียง 22 ปี แต่ก็นํบได้ว่าชีวิตท่านเป็น แบบอย่างของการอุทิศตนเต็มที่ต่อการทําตามพระบัญชาทุกข้อของพระเจ้า

วันที่ 5 เมษายน ค.ศ. 1829 ออลิเวอร์ คาวเดอรึครูสอนหนังสือที่อายุม้อย กว่าโจเซฟเพียงหนึ่งปีมาถึงห้านของโจเซฟในฮาร์โมนี เพื่อตอบคําสวดอ้อนวอน ของเขา เขาได้รับประจักษ์พยานถึงความจริงในงานของศาสดา สองวันต่อมา งานแปลเริ่มอีกครั้ง โดยโจเซฟเป็นคนบอกและออลิเวอร์เป็นคนจดตาม

การฟื้นฟูฐานะปุโรหิตของพระผู้เป็นเจ้า

ขณะโจเซฟกับออลิเวอร์ทํางานแปลพระคัมภีร์มอรมอน ทั้งสองได้อ่านเรื่อง ราวการเสด็จเยือนชาวนีไฟสมัยโบราณของพระผู้ช่วยให้รอด ด้วยเหตุนี้พวกท่าน จึงตัดสินใจแสวงหาการนำทางจากพระเจ้าเกี่ยวกับบัพดิศมา วันที่ 15 พฤษภาคม พวกท่านไปสวดอ้อนวอนริมฝั่งแม่นํ้าซัสเควฮันนา ใกล้ม้านของโจเซฟใน ฮาร์โมนี ยังความแปลกใจแก่พวกท่าน เมื่อทูตสวรรค์มาเยือนโดยประกาศว่าตัว ท่านคือยอห์นผู้ถวายบัพติศมา ท่านประสาทฐานะปุโรหิตแห่งแอรันและบอก คนทั้งสองให้บัพติศมาและวางมือแต่งตั้งกัน ต่อมาตามที่ยอห์นผู้ถวายบัพติศมา สัญญาไว้ อัครสาวกสมัยโบราณได้แก่ เปโตร ยากอบ และยอห์นมาปรากฎต่อ โจเซฟและออลิเวอร์ด้วยเช่นกัน โดยได้มอบฐานะปุโรหิตแห่งเม็ลคิเซเด็ค และ วางมือแต่งตั้งคนทั้งสองเป็นอัครสาวก

ก่อนการเยือนเหล่านี้ โจเซฟกับออลิเวอร์เพียบพร้อมด้วยความรู้และศรัทธา แต่หลังจากทูตสวรรค์มาปรากฎ พวกท่านมีสิทธิอำนาจด้วย ซึ่งได้แก่ พลังและ สิทธิอำนาจของฐานะปุโรหิตของพระผู้เป็นเว้าอันจำเป็นต่อการสถาปนาศาสนาจักรของพระองค์และประกอบพิธีการแห่งความรอด

การจัดพิมพ์พระคัมภีร์มอรมอนและการจัดตั้งศาสนาจักร

ในช่วงเดือนเมษายนและพฤษภาคม 1829 ศาสดาทํางานแปลที่บ้านในฮาร์โมนี แต่งานแปลหยุดชะงักมากขึ้นเนื่องจากการก่อกวน จากเหตุการณ์นี้โจเซฟ กับออลิเวอร์ได้ย้ายไปเฟเยทท์ทาวน์ชิพ รัฐนิวยอร์กชั่วคราวเพื่อทํางานแปลให้ สำเร็จลุล่วงที่ฟาร์มของปีเตอร์ วิดเบอร์ ซีเบียร์ งานแปลเสร็จสมบูรณ์ในเดือน มิถุนายน โดยใช้เวลาไม่ถึง 3 เดือน หลังจากออลิเวอร์เริ่มทําหน้าที่เปีนผู้จด ตามอำบอกของศาสดา ราวเดือนสิงหาคม โจเซฟทําสัญญากับผู้จัดพิมพ์ชื่อ อี. บี. แกรนดินจากพอลไมราเพื่อพิมพ์หนังสือ บาร์ดิน แฮร์ริสจำนองฟาร์มกับ นายแกรนดินเพื่อเป็นหลักประกันว่าจะจ่ายค่าพิมพ์แน่นอน และต่อมาเขาขาย ฟาร์ม 151 เอเคอร์เพื่อไถ่ถอนการจำนอง พระคัมภีร์มอรมอนวางจำหน่ายให้คน ทั่วไปในร้านหนังสือของแกรนดินเมื่อวันที่ 26 มีนาคม ค.ศ. 1830

วันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1830 เพียงสิบเอ็ดวันหลังจากโฆษณาขายพระคัมภีร์ มอรมอน คนกลุ่มหนึ่งประมาณ 60 คนมาชุมนุมกันที่ฟาร์มปีเตอร์ วิตเบอร์ ซีเบียร์ในเมืองเฟเยทน์ รัฐนิวยอร์ก ที่ทั่นโจเซฟ สมิธได้จัดตั้งศาสนาจักรอย่าง เป็นทางการ ต่อมาเรียกชื่อว่าศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุค สุดน์าย (ดู ค.พ. 115:4) นั่นคือโอกาสอันน่ายินดี พร้อมด้วยการหลั่งพระวิญญาณอันเกริกน้อง บีการปฎินัสิศีลระลึก ให้นัพดิศมาผู้เชื่อ มอบของประทาน แห่งพระวิญญาณปริสุทธิ์ และวางมือแต่งตั้งฐานะปุโรหิตให้ชายหลายคน ใน การเปีดเผยที่ได้รับระหว่างการประชุม พระเว้าทรงกำหนดให้โจเซฟ สมิธเป็นผู นําของศาสนาจักร “ผู้พยากรณ์ ผู้แปล ศาสดา อัครสาวกของพระเยซูคริสต์ เอ็ลเดอร์ของศาสนาจักรโดยทางพระประสงค์ของพระผู้เป็นเจัาพระบิดาและ พระคุณของพระเจัาพระเยซูคริสต์ของเว้า” (ค.พ. 21:1) ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์ได้รับการสถาปนาอีกครั้งบนแผ่นดินโลก

เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ: การขยายตัวของศาสนาจักรและอาณาจักร

เมื่อสมาชิกศาสนาจักรแบ่งปันความจริงที่ค้นพบด้วยความกระตือรือร้น ศาสนาจักรที่จัดตั้งใหม่จึงเติบโตอย่างรวดเร็ว ไม่นานก็มีสมาชิกหลายกลุ่มประชุม กันในเมืองต่างๆ ของนิวยอร์ก อาทิ เฟเยทท์ แมนเชสเตอร์ และโคลสวิสล์ ในเดือนกันยายน ค.ศ. 1830 พระเจ้าทรงเปีดเผยผ่านโจเซฟ สมิธว่าผู้สอน ศาสนาควร “ไปยังชาวเสมัน” ที่อาศัยอยู่ตามเขตแดนตะวันตกของมิสซูรี (ค.พ. 28:8) การเดินทางของผู้สอนศาสนาด้องผ่านเมืองเคิร์ทแลนด์ รัฐโอไฮโอ เขตที่พวกเขาพบผู้เคร่งศาสนากลุ่มหนึ่งกำลังแสวงหาความจริงและทำให้กลุ่ม นั้นเปลี่ยนใจเลื่อมใส 130 คน รวมทั้งซิดนีย์ ริกดันผ้เป็นสมาชิกฝ่ายประธาน สูงสุดในเวลาต่อมา กลุ่มสิทธิชนในเคิร์ทแลนด์เพิ่มขึ้นจนมืหลายร้อยคนขณะ ที่สมาชิกแบ่งปันพระกิตติคุณให้แก่คนรอบข้าง

ขณะที่ศาสนาจักรเติบโตในนิวยอร์ก การต่อด้านศาสนาจักรก็เพิ่มขึ้นด้วย ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1830 ศาสดาได้รับการเปิดเผยให้สมาชิกศาสนาจักร “ไปถึงโอไฮโอ” (ค.พ. 37:1) ไกลออกไปกว่า 250 ไมล์ สิทธิชนนิวยอร์ก กลุ่มใหญ่ขายทรัพย์สินของตนติดต่อกันสามสี่เดือน ส่วนใหญ่ขายขาดทุนและ จำเป็นต้องเสียสละหลายสิ่งหลายอย่างเพื่อไปรวมกันที่เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ โจเซฟกับเอ็มมา สมิธอยู่ในกลุ่มแรกที่เริ่มเดินทางไปโอไฮโอและมาถึงเคิร์ทเเนลนด์ประมาณวันที่ 1 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1831

สถานที่สองแท่งสำหรับสิทธิชนมารวมกัน

ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1831 ช่วงที่ศาสนาจักรในเคิร์ทแลนด์แข็งแกร่งขึ้น พระเจ้าทรงบัญชาให้ศาสดาและผู้นำศาสนาจักรท่านอื่นๆ เดินทางไปมิสซูรี ที่ นั่นพระองค์จะทรงเปีดเผย “แผ่นดินมรดก [ของพวกเขา]” (ค.พ. 52:3–5, 42–43) ระหว่างเดือนมิถุนายนและเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1831 ศาสดาและ คนอื่นๆ เดินทางราว 900 ไมล์จากเคิร์ทแลนด์ไปแจ็คสันเคาน์ตี้ รัฐมิสซูรีซึ่งอยู่ ชายแดนตะวันตกของถิ่นฐานคนอเมริกัน หลังจากมาถึงไค้ไม่นาน ศาสดาก็ไต้ รับการเปีดเผยจากพระเจ้าว่า “แผ่นดินมิสซู่รี… คือแผ่นดินซึ่งเรากำหนดและ ตั้งไว้เพื่อการรวมของสิทธิชน ดังนั้น นี่คือแผ่นดินแห่งคำสัญญาและที่สำ-หรับ เมืองไซอัน…ที่ซึ่งบัดนี้เรียกว่าอินดิเพ็นเด็นซ์คือที่ศูนย์กลางนั้น และตํำาแหน่งที่สำหรับพระวิหารอยู่ทางตะวันตก” (ค.พ. 57:1–3)

ในสัมถุทธิผลแห่งคำพยากรณ์ของศาสดาสมัยโบราณยุคพระคัมภีร์ไบเบิล โจเซฟ สมิธวัย 25 ปีเริ่มวางรากฐานของเมืองไซอันในอเมริกา ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1831 ท่านเป็นประธานดูแลการอุทิศแผ่นดินนั้นให้เป็นสถานที่เพื่อ การรวมและอุทิศสถานที่ก่อสร้างพระวิหาร ต่อมาไม่นาน ศาสดากลับไปโอไฮโอ ห่านขอให้ผู้ซึ่อสัตย์บางคนที่นั่นไปรวมกันที่มิสซูรี สิทธิชนหลายร้อยคนอดทน ต่อความลำบากตรากตรำของการเดินทางในศตวรรษที่ 19 ตามชายแดนอเมริกา และบุกเบิกทางไปม้านใหม่ของพวกเขาในมิสซูรี

ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1831 ถึง ค.ศ. 1838 สมาชิกศาสนาจักรอาศัยอยู่ในโอไฮโฮ และมิสซู่รี ศาสดา สมาชิกโควรัมอัครสาวกสิบสอง และสมาชิกจำนวนมาก ของศาสนาจักรอาศัยอยู่ในเคิร์ทแลนด์ ส่วนสมาชิกคนอื่นๆ ของศาสนาจักรไป รวมกันที่มิสซู่รีและมีผู้นำฐานะปุโรหิตที่นั่นนำพวกเขาภายใต้การลำกับดูแลของ ศาสดา ผู้นำศาสนาจักรส่งจดหมายติดต่อกันและเดินทางระหว่างเคิร์ทแลนด์กับ มิสซู่รีม่อยครั้ง สเตคแห่งหนึ่งจัดตั้งในเคิร์ทแลนด์เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1834 และสเตคในเคลย์เคาน์ตี้ มิสซู่รีจัดตั้งปลายปีนั้น

การเปีดเผยต่อเนื่อง

ระหว่างอยู่ในเขตเคิร์ทแลนด์ ศาสดาไต้รับการเปีดเผยมากมายจากพระเจ้า เกี่ยวกับการฟื้นฟูยุคสุดท้าย ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1831 ผู้นำศาสนาจักร ตัดสินใจจัดพิมพ์การเปีดเผยมากมายที่ได้รับเรื่อยมาจนถึงเวลานั้น ซึ่งรู้กันว่า คือหนังสือพระบัญญัติ ศาสนาจักรพิมพ์หนังสือตังกล่าวในเมืองอินดิเพนเดนซ์ รัฐมิสซู่รี แต่ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1833 กลุ่มคนร้ายทำลายเครื่องพิมพ์และ งานพิมพ์จำนวนมาก สมาชิกของศาสนาจักรไม่เคยอ่านหนังสือพระบัญญัตินอก จากสำเนาเพียงไม่กี่ฉบับของหนังสือเล่มนี้ที่รักษาไว้ได้ ในปี ค.ศ. 1835 ที่เมือง เคิร์ทแลนด์ศาสนาจักรจัดพิมพ์การเปีดเผยสำหรับหนังสือพระบัญญัติและการ เปีดเผยอีกมากมายเป็นพระคัมภีร์คำสอนและพันธสัญญา

ระหว่างอยู่ในเขตเคิร์ทแลนด์ ศาสดายังคงแปลพระคัมภีร์ไบเบิลฉบับคิงส์เจมส์ด้วยการดลใจเช่นเดิม ซึ่งเป็นงานที่ท่านเริ่มไว้ในปี ค.ศ. 1830 ตามพระบัญชาของพระเจ้า หลายเรื่องที่แจ้งชัดและมืค่าสูญหายไปจากพระคัมภีร์ไบเบิล ตลอดหลายศตวรรษที่ผ่านมา และศาสดาได้รับการนำทางจากพระวิญญาณใทํ้ แก้ไขข้อความในพันธสัญญาเดิมและพันธสัญญาใหม่ และนำข้อมูลที่หายไป กลับคืนมา งานนี้นำไปสู่การฟืนฟูความจริงของพระกิตติคุณที่สำคัญ ตลอดจน การเปีดเผยมากมายที่เวลานี้รวมไว้ในพระคัมภีร์คำสอนและพันธสัญญา แท้ใจเซฟตั้งใจจะจัดพิมพ์การแปลพระคัมภีร์ไบเบิลของท่าน แต่เรื่องเร่งด่วน รวมถึง การข่มเหง เป็นอุปสรรคขัดขวางท่านไมใท้จัดพิมพ์พระคัมภีร์เล่มนี้ในชั่วชีวิต ของท่าน

ส่วนหนึ่งของการแปลพระคัมภีร์ไบเบิลด้วยการดลใจคือใจเซฟ สบิธได้รับ การเปีดเผยที่ปัจจุบันคือหนังสือโมเสสและการแปลม้ทธิว 24 ด้วยการดลใจ ซึ่ง ปัจจุบันเรียกว่าโจเซฟ สบิธ—ม้ทธิว ในปี ค.ศ. 1835 ศาสดาเริ่มแปลหนังสือ เอบราแฮมจากกระดาษปาปีรุสภาษาอียิปต้โบราณที่ศาสนาจักรซื้อมา การแปล ทั้งหมดนี้ต่อมากลายเป็นส่วนหนึ่งของพระคัมภีร์ไข่มูกอันลํ้าค่า

การเปีดเผยส่วนหนึ่งที่ศาสดาได้รับในเคิร์ทแลนด์คือการเปีดเผยใท้สถาปนา การปกครองระดับสามัญของศาสนาจักร ภายใด้การกำกับดูแลของพระเจ้า ใจเซฟ สบิธจัดตั้งฝ่ายประธานสูงสุดในปี ค.ศ. 18327 ท่านจัดตั้งโควรัมอัครสาวก สิบสองและโควรัมสูาวกเจ็ดสิบในปี ค.ศ. 1835 จัดตั้งสเตคที่เคิร์ทแลนด์ ในปี ค.ศ. 1834 ในช่วงนี้ท่านสถาปนาโควรัมฐานะปุโรหิตแห่งแอรันและแห่งเป็ลคิเซเด็คด้วยเพื่อดูแลความด้องการของสมาชิกศาสนาจักรในท้องที่

พระวิหารแห่งแรกในสมัยการประทานนี้

ส่วนสำคัญที่สูดส่วนหนึ่งของการฟื้นฟูคือพระเจ้าทรงเปีดเผยต่อโจเซฟ สมิธถึงความจำเป็นของการมีพระวิหารศักดี้สิทธี้ ในเตือนธันวาคม ค.ศ. 1832 พระเจ้าทรงบัญชาสิทธิชนให้เริ่มสร้างพระนิเวศน์ของพระเจ้าในเคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ แห้สมาชิกจำนวนมากของศาสนาจักรจะขาดแคลนที่พักอาศัย ว่างงาน และขาดแคลนอาหาร แต่พวกเขาตอบรับพระบัญชาของพระเจ้าด้วยความ กระดือรือร้น และศาสดาทำงานเคียงบ่าเคียงไหล่พวกเขา

วันที่ 27 มีนาคม ค.ศ. 1836 โจเซฟ สมิธอุทิศพระวิหารท่ามกลางการหลั่ง พระวิญญาณในวันเพนเทคศเต หนึ่งสัปดาห์ต่อมา ในวันที่ 3 เมษายน ค.ศ. 1836 เหตุการณ์สำคัญที่สุดอย่างหนึ่งในประวัติศาสตร์ทางศาสนาก็เกิดขึ้น พระเจ้าพระเยซูคริสต์ทรงปรากฎต่อโจเซฟ สมิธและออลิเวอร์ คาวเดอรีในพระวิหาร โดยทรงประกาศว่า “เรายอมรับบ้านแห่งนี้ และนามของเราจะอยู่ที่นึ่ และเราจะแสดงตัวใบ้ปรากฎแก่ผู้คนของเราในความเมตตาในบ้านแห่งนี้” (ค.พ. 110:7) ผู้ส่งข่าวสามท่านจากสมัยการประทานพันธสัญญาเดิม—โมเสส อิไลอัส และเอลียาห์ (อิไลจะ)—มาปรากฎด้วยเพื่อฟ้นฟูกุญแจและอำนาจ ฐานะปุโรหิตที่หายไปจากแผ่นดินโลกเป็นเวลานาน มัดนี้ศาสดาโจเซฟ สมิธมี อำนาจที่จะรวมอิสราเอลจากสี่เสี้ยวของแผ่นดินโลกและผนึกครอบครัวเข้าด้วย กันเพื่อกาลเวลาและนิรันดร ทั้งคนเป็นและคนตาย (ดู ค.พ. 110:11–16) การฟื้นฟูกุญแจฐานะปุโรหิตครั้งนี้ท่าตามแบบแผนของพระเจ้าในการประทาน ใบ้ศาสดา “เป็นบรรทัดๆ เป็นข้อๆ ที่นี่นิดที่นั่นหน่อย” (ค.พ. 128:21) จน กว่าความบริบูรณ์ แห่งพระกิตติคุณของพระเยซูคริสต์จะกลับคืนสู่แผ่นดินโลก

สั่งสอนพระกิตติคุณอันเป็นนิจ

ตลอดการปฎิมัดิศาสนกิจของศาสดา พระเจ้าทรงบัญชาท่านให้ส่งผู้สอน ศาสนาไป “สั่งสอนพระกิตติคุณแก่มนุษย์ทุกคน” (ค.พ. 68:8) ศาสดารู้สึกถึง ภาระรับผิดชอบนี้ ท่านจากบ้านและครอบครัวไปสั่งสอนพระกิตติคุณหลายครั้ง ในสมัยเริ่มแรกของศาสนาจักร ผู้สอนศาสนาได้รับเรียกใบ้สั่งสอนในภูมิภาค ต่างๆ ของสหรัฐและแคนาดา

หลังจากนั้นในฤดูร้อนปี ค.ศ. 1837 ศาสดาได้รับการดลใจให้ส่งเอ็ลเดอร้ไป ประเทศอังกฤษ ศาสดากำกับดูแลใบ้ฮีเบอร์ ซี. คิมมัลล์ สมาชิกคนหนึ่งในโควร้มอัครสาวกสิบสองนำผู้สอนศาสนากลุ่มเล็กๆ กลุ่มหนึ่งไปทํางานสำคัญชิ้นนี้ เอ็ลเดอร์คิมมัลล์จากครอบครัวที่แร้นแบ้นของท่านโดยมีศรัทธาว่าพระเจ้าจะ ทรงนำทางท่าน ภายในหนึ่งปี มีคนประมาณ 2,000 คนเข้าร่วมศาสนาจักรใน ประเทศอังกฤษและจัดตั้งสาขา 26 แห่งที่นั่น ต่อมาโจเซฟ สมิธส่งสมาชิก อัครสาวกสิบสองไปรับใซ้ในสหราชอาณาจักรตั้งแต่ปี ค.ศ. 1839 ถึง 1841 และงานเผยแผ่ครั้งนี้ประสบความสำเร็จอย่างน่าทึ่ง ราวคริสต์ศักราช 1841 มี คนมากกว่า 6,000 คนบ้อมรับพระกิตติคุณ หลายคนอพยพไปอเมริกาเพื่อช่วย ใบ้ศาสนาจักรยังคงมีพลังและแข็งแกร่งในช่วงที่ยากลำบากมาก

ออกจากเคิร์ทแลนด์

สิทธิชนในเคิร์ทแลนด์เผชิญการข่มเหงเกือบจะทันทีที่ไปถึง แต่การต่อด้าน รุนแรงขึ้นในปี ค.ศ. 1837 และ 1838 “เกี่ยวอับอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้า นั้น” ศาสดากล่าว “มารมักจะตั้งอาณาจักรของเขาในเวลาเดียวอันเพื่อต่อด้าน พระผู้เป็นเจ้า”8 ศาสดาจะตกเป็นเป้าแรกของการบุ่งร้าย ทั้งจากศัตรูนอกศาสนาจักรและจากผู้ละทิ้งความเชื่อที่หันมาต่อต้านท่าน ท่านถูกกล่าวหาอย่างไม่ยุติธรรมว่ากระทําความผิดมากมาย ถูกกล่าวหาในศาลทั้งคดีแพ่งและคดีอาญาที่ ไม่มีมูลความจริงหลายสิบคดี และถูกบีบคั้นให้ต้องซ่อนตัวจากคนที่บุ่งเอาชีวิต ท่าน แต่ท่านยืนหยัดต้วยศรัทธาและกล้าหาญท่ามกลางความเดือดร้อนและการ ต่อต้านที่มีมาแทบไม่ขาดสาย

ในที่สุด การข่มเหงในเขตเคิร์ทแลนด์ก็ถึงขีดสุด ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1838 ศาสดากับครอบครัวถูกบีบคั้นให้ออกจากเคริท์แลนด์ลี้ภัยไปอยู่ในฟาร์เวสต์ มิสซูรี ปลายปีนั้น สิทธิชนส่วนใหญ่ในเคิร์ทแลนด์ตามท่านไป โดยทิ้ง บ้านและพระวิหารที่พวกเขารักไว้เบื้องหลัง

สิทธิชนในมิสชูรี

การถูกขับไล่ออกจากแจ็คสันเคาน์ตี้และการเดินทัพของค่ายไซอัน

ขณะที่สิทธิชนเคิร์ทแลนด์พยายามสถาปนาอุดมการณ์แห่งไซอัน สมาชิกอีก มากมายของศาสนาจักรก็ทําเช่นเดียวก้นในแจ็คลันเคาน์ตี้ รัฐมิสซูรี สิทธิชน ยุคสุดท้ายเริ่มตั้งถิ่นฐานที่เคาน์ตี้ในฤดูร้อนปี ค.ศ. 1831 สองปีต่อมา พวกเขา นับจำนวนสิทธิชนไต้ประมาณ 1,200 คน หรือประมาณหนึ่งในสามของประชากรที่นั่น

การมาถึงของสิทธิชนจำนวนมากทําให้ผู้ที่ตั้งถิ่นฐานในเขตนั้นมานานเกิด ความไม่สบายใจ ชาวมิสซูรีเกรงจะสูญเสียการควบคุมทางการเมืองให้ผู้มาใหม่ ซึ่งส่วนใหญ่จะมาจากภาคเหนือของสหรัฐและไม่สนับสมุนระบอบทาสของภาค ใต้ ชาวมิสซูรีสงสัยในคำสอนอันเป็นเอกลักษณ์ของสิทธิชนยุคสุดท้ายต้วย เช่น ความเชื่อในพระคัมภีร์มอรมอน การเปีดเผยใหม่ และการรวมกลุ่มไปไซอัน พวกเขาไม่พอใจที่สิทธิชนยุคสุดท้ายแลกเปลี่ยนสินก้าในพวกเดียวลันเอง ไม่นานกลุ่มคนร้ายและทหารบ้านก็เริ่มล่อกวนสิทธิชนและในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1833 พวกเขาขับไล่สิทธิชนออกจากแจ็คลันเคาน์ตี้

ในเกิร์ทแลนด์ ห่างออกไปราว 900 ไมล์ ใจเซฟ สมิธเป็นห่วงสภาพจน ตรอกของสิทธิชนมิสซูรีมาก ใมุเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1833 ท่านเขียนถึงผู้นํา ศาสนาจักรในมิสซูรีว่า “พี่ห้องทั้งหลาย ฤ้าข้าพเจ้าอยู่กับท่าน ข้าพเจ้าอยากจะ มีส่วนในความทุกข์ทรมานของท่าน แห้จะเสียขวัญบ้างก็ตาม แต่วิญญาณของ ข้าพเจ้าจะไม่ยอมให้ข้าพเจ้าทอดทั้งท่านให้ถึงตาย พระผู้เป็นเจ้าจะทรงช่วย ข้าพเจ้า โอ จงร่าเริงเถิด เพราะการไถ่มาใกล้แล้ว โอ้พระผู้เป็นเจ้า โปรดช่วย พี่น้องของข้าพระองค์ในไซอันด้วยเถิด”9

ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1834 โจเซฟ สมิธได้รับการเปีดเผยโดยบัญชาท่าน ให้นำการเดินทางไกลจากเคิร์ทแลนด์ไปมิสซูรีเพี่อช่วยสิทธิชนที่ตกระกำลำบาก และช่วยนำกลับสู่แผ่นดินของพวกเขาในแจ็คสันเคาน์ตี้ (ดู ค.พ. 103) เพี่อ ตอบรับพระบัญชาของพระเจ้า ศาสดาได้จัดดั้งคนกลุ่มหนึ่งเรียกว่าค่ายไซอันให้ เดินทัพไปมิสซู่รี ในเดือนพฤษภาคมและเดือนมิถุนายนของปี ค.ศ. 1834 กลุ่ม คนดังกล่าวซึ่งในที่สุดรวบรวมสมาชิกได้มากกว่า 200 คนก็เดินทางบุ่งหน้าสู่ ตะวันตกข้ามโอไฮโอ อินเดียนา อิลลินอยส์ และมิสซูรี พวกเขาประสบความ ยากลำบากมากมาย รวมถึงการระบาดของอหิวาตกโรค วันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1834 เมื่อเดินทางใกล้ถึงแจ็คสันเคาน์ตี้ ศาสดาได้รับการเปีดเผยให้ยุบค่าย อย่างไรก็ดื พระเจ้าทรงสัญญาว่าไซอันจะได้รับการไฤ่ในเวลาของพระองค์ (ดู ค.พ. 105:9–14) หลังจากจัดดั้งสเตคในเคลย์เคาน์ตี้โดยให้เดวิด วิดเมอร์เป็น ประธานแล้ว ศาสดาจึงกลับไปโอไฮโอ

แม้ค่ายไซอันจะไม่ได้ทรัพย์สินของสิทธิชนคืนมา แต่ก็ได้ฟิกฝนผู้นำใน อนาคตของศาสนาจักรอย่างที่มิอาจประมาณค่าได้ เพราะผู้มีส่วนร่วมได้เรียนรู้ หลักธรรมของการเป็นผู้นำที่ชอบธรรมจากแบบอย่างและคำสอนของศาสดา ศาสดาจัดตั้งโควรัมอัครสาวกสิบสองในการประชุมของสมาชิกค่ายไซอันและ สมาชิกคนอื่นๆ ของศาสนาจักรที่จัดในเคิร์ทแลนด์เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1835 สองสัปดาห์ต่อมา ท่านได้จัดตั้งโควรัมสาวกเจ็ดสิบ สมาชิกเล้าคน ในโควรัมอัครสาวกสิบสองและสมาชิกทุกคนในโควรัมสาวกเจ็ดสิบต่างก็เคย เป็นส่วนหนึ่งของค่ายไซอัน

การตั้งถิ่นฐานในภาคเหนือของมิสซูรี

สิทธิชนจำนวนมากยังคงอาศัยอยู่ที่เคลย์เคาน้ตี้ รัฐมิสซู่รี จนถึงปี 1836 จน กระทั่งผู้อาศัยในเคาน์ตี้แห่งนั้นบอกว่าพวกเขาไม่สามารถให้สมาชิกจำนวนมาก ของศาสนาจักรลี้ภัยได้อีก ด้วยเหตุนี้สิทธิชนจึงเริ่มย้ายเข้าไปในภาคเหนือของ มิสซู่รี ส่วนใหญ่ตั้งรกรากในคาลด์เวลส์เคาน์ตี้ อันเป็นเคาน์ตี้แห่งใหม่ที่จัดดั้ง โดยสภานิติบัญญัติของรัฐเพี่อรองรับสิทธิชนยุคสุดทัายที่พลัดถิ่น ค.ศ. 1838 สิทธิชน กลุ่มใหญ่ที่ถูกบังคับให้ออกจากเคิร์ทแลนด์ก็ตามมาสมทบ ศาสดาและ ครอบครัวของท่านมาถึงฟาร์เวสด์ในเดือนมีนาคมปีเดียวกันนั้น ฟาร์เวสุด์เป็น ถิ่นฐานสิทธิชนยุคสุดท้ายที่กําลังรุ่งเรืองในคาลด์เวลส์เคาน์ตี้จึงมีการจัดตั้งศูนย์ ใหญ่ของศาสนาจักรขึ้นที่นั่น ในเดือนเมษายน พระเจ้าทรงบัญชาโจเซฟ สมิธ ให้สร้างพระวิหารในฟาร์เวสต์ (ดู ค.พ. 115:7–16)

น่าเศร้าที่สิทธิชนในภาคเหนือของมิสซูรีอยู่อย่างสงบได้ไบ่นาน ในฤดูใบไม้ ร่วง ค.ศ. 1838 กลุ่มคนร้ายและทหารบ้านก่อกวนและโจมตีสิทธิชนยุคสุดห้าย อีก เมื่อสมาชิกศาสนาจักรตอบโด้และป้องกันตนเอง โจเซฟ สมิธและผู้นำ ท่านอื่นของศาสนาจักรกลับถูกจับกุมโทษฐานทรยศต่อชาติ ในเดือนพฤศจิกายน พวกท่านถูกกุมขังในอินดิเพนเดนซ์และในริชมอนด์ มิสซู่รี และวันที่ 1 ธันวาคม พวกท่านถูกนําตัวไปที่กุกในลิเบอร์ตี้ รัฐบิลซู่รี ฤดูหนาวปีนั้น ศาสดา และคนที่อยู่กับท่านต้องทุกข์ทรมานภายใต้สภาพที่ป่าเถื่อนโหดร้าย พวกท่าน ถูกขังอยู่ในกุกใต้ดิน—ห้องที่มืด เย็น และไบ่ถูกสุขลักษณะ—กินอาหารไร้คุณ ค่าและขาดแคลน ศาสดาบอกว่าสภาพของท่านและสภาพของสิทธิชนเป็น “การทดสอบศรัทธาของเราเท่าๆ กับของอับราฮัม”10

ขณะที่ศาสดาถูกกุมขัง สิทธิชนหลายพันคน รวมทั้งครอบครัวของศาสดาถูก บังคับให้ออกจากบ้านที่มิสซูรีในช่วงฤดูหนาวและฤดูใบไม้ผลิของปี ค.ศ. 1838–1839 วันที่ 7 มีนาคม ค.ศ. 1839 เอ็มมาเขียนจากควินซี อิลลินอยส์ ถึงโจเซฟคังนี้ “นอกจากพระผู้เป็นเจ้าแล้วไบ่มีใครรู้ถึงความนึกคิดและความรู้สึกในใจฉันเมื่อต้องทิ้งบ้านทิ้งครอบครัวของเรา และเกือบทุกอย่างที่เราครอบ ครองยกเว้นลูกน้อยของเรา และเดินทางออกจากรัฐมิสซูรี ปล่อยให้คุณต้องถูก ขังอยู่ในคุกอันแสนเงียบเหงาแห่งนั้น”11 ภายใต้การกำกับดูแลของบริอัม ยังก์ และผู้นำห่านอื่นของศาสนาจักร สิทธิชนพาอันเดินทางไปตะวันออกเพื่อลี้ภัยในอิลลินอยส์

ยุคสมัยนอวู

ผู้นำอันเป็นที่รักของผู้ฅนของท่าน

ในเดือนเมษายน ค.ศ. 1839 ศาสดาและคนที่อยู่อับท่านถูกย้ายจากคุกลิเบอร์ตี้ไปไต่สวนที่อัลลาติน รัฐมิสซู่รี ขณะที่นักโทษถูกย้ายอีกครั้งจากกัลลาดินไปโคลัมเบีย รัฐมิสซูรี ผู้คุมก็ปล่อยให้พวกท่านหนีการจับกุมที่ไบ่ยุติธรรม พวกท่านเดินทางไปเมืองควินซี รัฐอิลลินอยส์ ที่ซึ่งสมาชิกกลุ่มใหญ่ของ ศาสนาจักรไปชุมนุมอันหลังหลบหนีออกจากมิสซูรี ไบ่นาน ภายใต้การกำกับ ดูแลของศาสดา สิทธิชนส่วนใหญ่ก็เริ่มตั้งถิ่นฐานไปทางเหนือ 50 ไมล์ที่เมือง คอมเมิร์ซ รัฐอิลลินอยส์ หมูบ้านตรงหัวโค้งของแม่นํ้ามิสซิสซิปปี โจเซฟตั้ง ชื่อใหม่ว่าเมืองนอวู และในปีต่อๆ มา สมาชิกและผู้เปลี่ยนใจเลื่อมใสใหม่จาก สหรัฐ แคนาดา และสหราชอาณาจักรก็ไปรวมกลุ่มอันที่นอวู ทำให้เขตนั้น กลายเป็นเขตที่มืประชากรมากที่สุดแท่งหนึ่งในอิลลินอยส์

โจเซฟอับเอ็มมาตั้งถิ่นฐานใกล้แม่นํ้าในบ้านไน้ซุงหลังเล็ก ซึ่งใข้เป็นที่ทํางาน ของศาสดาในสมัยเริ่มแรกของนอวู ท่านทำฟาร์มเลี้ยงชีพและเปีดร้านขายของ จิปาถะในเวลาต่อมา แดต่เพราะหน้าที่ในศาสนาจักรและบ้านเนืองเรียกร้องเวลา ของท่านมาก ศาสดาจึงนักประสบป้ญหาในการประกอบอาชีพเพื่อจุนเจือครอบกรัว ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1841 ทรัพย์สินส่วนตัวของท่านมืเพียง “ชาร์ลีย์ (น้าแก่) ที่ท่านไต้รับในเคิร์ทแลนด์ ลูกกวางสองตัว ไก่งวงแก่สองตัวและไก่งวงหนุ่มสี่ตัว วัวแก่ที่ชายคนหนึ่งในมิสซุรียกให้ท่าน เมเยอร์ (สุนัขแล่)… และเครื่องเรือนชิ้นเล็กๆ หนึ่งชิ้น”12

ปลายเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1843 ศาสดาและครอบครัวย้ายข้ามถนนไปอยู่ บ้านสองชิ้นที่สร้างเสร็จใหม่ๆ เรียกว่าแมนชั่นเย้าส์ เวลานี้โจเซฟกับเอ็มมานี บุตรที่ยังมืชีวิตอยู่สี่คน ตลอดหลายปีมานี้ โจเซฟอับเอ็มมาฝังลูกรักมาแล้วหก คน และลูกอีกคนหนึ่งจะเกิดหลังจากใจเซฟเสียชีวิต ลูกสิบเอ็ดคนในครอบกรัวของโจเซฟและเอ็มมา สมิธ คือ อัลวินเกิดปี 1828 เสียชีวิตหลังจากเกิด ไต้ไบ่นาน ฝาแฝดแทดเดืยสอับหลุยซาเกิดปี 1831 เสียชีวิตหลังจากเกิดไต้ ไบ่นาน ฝาแฝดโจเซฟและจูเลียซึ่งรับมาเปีนบุตรบุญธรรมเกิดปี 1831 โดยมีฟ่อ แม่ที่แท้จริงคือจอห์นและจูเลีย เบอร์ด็อค โจเซฟกับเอ็มมารับมาหลังจากซิสเตอร์เบอร์ด็อคเสียชีวิตจากการคลอดบุตร (โจเซฟอายุ 11 เดือนตายในปี 1832)13 โจเซฟที่สามเกิดปี 1832 เฟรเดริค เกิดปี 1836 อเล็กซานเดอร์ เกิดปี 1838 ดอน คาร์ลอส เกิดปี 1840 เสียชีวิตเมื่ออายุ 14 เดือน ลูกชายที่เกิดปี 1842 เสียชีวิตในวันที่เกิด และเดวิดเกิดปี 1844 เกือบท้าเดือนหลังจากบิดา เสียชีวิตเปีนมรณสักขี

ในนอวู ศาสดาชอบอยู่ท่ามกลางสิทธิชน ท่านกล่าวถึงเมืองนี้และผู้อาศัยอยู่ ในนั้นว่า “สถานที่แห่งนี้น่าอยู่ที่สุดและมีคนดืที่สุดภายใต้ฟ้าสวรรค์”14 สิทธิชน รักท่านเช่นลันและรู้สึกว่าท่านเป็นเพื่อนของพวกเขา โดยมักจะเรียกท่านว่า “บราเดอร์โจเซฟ” ผู้เปลี่ยนใจเลื่อมใสคนหนึ่งตั้งข้อสังเกตว่า “ตัวท่านเหมือน มีแบต่เหล็กดึงดูดทุกคนที่รู้จักท่านใท้เข้ามาใกล้”15 “ท่านบิได้ทําทีว่าเป็นคนไร้ข้อ บกพร่องและไบ่เคยทําเรื่องโฉดเขลา” ผู้อาศัยคนหนึ่งในนอวูเขียนไร้ “ท่าน เป็นคนที่คุณอดชอบไบ่ได้… ทั้งบิได้ลำพองในความยิ่งใหญ่อย่างที่หลายคนคิด แต่ตรงกันข้าม ท่านเป็นลันเองลับคนดืทุกคน”16 วิลเสียม เคลย์ตัน ผู้เปลี่ยน ใจเลื่อมใสชาวอังกฤษเขียนจดหมายจากนอวูเล่าเรื่องราวเกี่ยวกับศาสดาส่งให้ ทางบ้านโดยกล่าวว่า “ผมอยากจะเป็นคนอย่างนั้นจริงๆ”17

ศาสดากล่าวคำปราศรัยหลายครั้งในนอวู และสมาชิกศาสนาจักรชอบฟ้งท่าน เพราะท่านสอนความจริงที่ได้รับเปีดเผยของพระกิตติคุณด้วยพลังอำนาจ แองกัส เอ็ม. แคนนอนจำได้ว่า “ทุกครั้งที่ฟ้งท่านพูดผมจะรู้สึกเหมือนเกิดประจุ ไฟฟ้าทั่วตัวและท่าใบ้จิตวิญญาณของผมปลาบปลื้มในพระเจ้า”18 บริคัม ยังก์ ประกาศว่า “ข้าพเจ้าไบ่เคยปล่อยให้โอกาสที่จะได้อยู่กับศาสดาและฟ้งท่านพูด ต่อสาธารณชนหรือเป็นส่วนตัวหลุดลอยไป ทั้งนี้เพื่อข้าพเจ้าจะได้ดึงความเข้าใจ มาจากแหล่งที่ท่านพูด เพื่อข้าพเจ้าจะได้มาและนำออกมาใข้ยามจำเป็น… ช่วงเวลาเช่นนั้นมีค่าต่อข้าพเจ้ามากกว่าความมั่งคั่งทั้งหลายทั้งปวงในโลก”19

การเป็นผู้นำของโจเซฟ สมิธขยายออกไปนอกขอบเขตความรับผิดชอบทาง ศาสนาของท่าน ในนอวูศาสดามีส่วนรับใข้ในงานบ้านเมือง กฎหมาย ธุรกิจ การศึกษา และการทหาร ท่านด้องการให้เมืองนอวูบอบสิ่งที่มีประโยชน์และ โอกาสทั้งหมดของความก้าวหบ้าทางวัฒนธรรมและบ้านเมืองแก่ประชาชนของ เมืองนั้น ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1844 สาเหตุใหญ่เปีนเพราะโจเซฟ สมิธผิดหวังที่เจ้าหบ้าที่ของรัฐและสหพันธรัฐไบ่ยอมชดเชยสิทธี้และทรัพย์สินที่นำไป จากสิทธิชนในมิสซูรื ท่านจึงประกาศการลงสมัครรับเลือกตั้งเปีนประธานาธิบดี ของสหรัฐอเมริกา แบ้ผู้สังเกตการณ์ส่วนใหญ่จะทราบดึว่าท่านมีโอกาสได้รับ เลือกเพียงบ้อยนิด แดต่การลงสมัครของท่านดึงดูดสาธารณชนใบ้มันมาสนใจ การละเมิดสิทธิ์ของสิทธิชนตามการรับรองของรัฐธรรมนูญซึ่งเกิดขึ้นอย่างกว้างขวาง ศาสดาเคยประกาศว่า ทุกคน “มีสิทธิเท่าเทียมลันที่จะรับส่วนผลของ ด้น้ไมใหญ่แห่งเสรีภาพในประเทศของเรา”20

ศักดิ์สิทธื์แต่พระเจ้ไ: สร้างพระวิหารแต่พระผู้เป็นเจ้าในนอวู

เมื่อสิทธิชนถูกบังคับใบ้ออกจากเคิร์ทแลนด์ พวกเขาด้องละทิ้งพระวิหารที่ ทุ่มเทแรงกายสร้างไว้ แต่พวกเขาจะมืพระวิหารศักดิ๙สิทธิ๙อีกครั้งท่ามกลางพวก เขา เพราะพระเจ้าทรงบัญชาให้เริ่มสร้างพระวิหารในนอวู งานเริ่มในฤดูใบ้ไบ้ ร่วง ค.ศ. 1840 โดยมีศาสดาเป็นประธานในพิธีวางศิลามุมเอกเมื่อวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1841 การล่อสร้างพระวิหารนอวูเป็นโครงการสำคัญที่สุดโครงการ หนึ่งในอเมริกาตะวันตกสมัยนั้น การสร้างพระวิหารเรียกร้องใบ้สิทธิชนเสียสละ อย่างมากเพราะด้วยการอพยพอย่างต่อเนื่องเข้ามาในเมืองที่กำลังพัฒนา สมาชิกศาสนาจักรโดยทั่วไปจึงมีฐานะยากจน

ศาสดาเริ์มสอนคำสอนเรื์องความรอดสำหรับคนตายมาแก้วตั้งแต่วันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1840 เนื่องด้วยพระวิหารอยู่ในระยะแรกของการก่อสร้าง สิทธิชนจึงประกอบพิธีบัพติศมาแทนคนตายในแม่นํ้าลำธารตามบริเวณใกล้เคียง ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1841 พระเจ้าทรงเปีดเผยว่าการปฏิบัติเช่นนี้จะยังคง ดำเนินต่อไปจนกว่าจะประกอบพิธีบัพติศมาในพระวิหารได้ (ดู ค.พ. 124:29–31) ในช่วงฤดูร้อนและฤดูใบไม้ร่วง ค.ศ. 1841 สิทธิชนสร้างอ่างบัพติศมาชั่วคราวที่ทำด้วยไม้ไว้ในม้องใด้ตินที่เพิ่งขุดใหม่ของพระวิหาร บัพติศมาแทนคน ตายทำในอ่างนี้ครั้งแรกเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1841

ค.ศ. 1841 มีการผนึกคู่สามีภรรยาเป็นครั้งแรก และในปี ค.ศ. 1843 ศาสดา บอกให้จดการเปีดเผยที่พูดถึงความเป็นนิรันดร์ของพันธกัญญาการแต่งงาน (ดู ค.พ. 132) ศาสดารู้หลักคำสอนในการเปีดเผยครั้งนี้ตั้งแต่ปี 183121 ท่านสอน หลักคำสอนเรื่องพหุสมรสตามพระบัญชาของพระผู้เป็นเจ้าด้วย

เพราะทราบว่าอีกหลายปีกว่าพระวิหารจะเสร็จ ใจเซฟ สมิธจึงเลือกท่าเอ็นดาวเน้นท์นอกกำแพงศักดี้สิทธี้ของพระวิหารต่อไป วันที่ 4 พฤษภาคม ค.ศ. 1842 ในห้องชั้นบนของร้านอิฐสีแดงของท่านในนอวู ศาสดาท่าเอ็นดาวเมีนท์ ครั้งแรกให้พี่น้องชายกลุ่มเล็กๆ กลุ่มหนึ่ง มีบริคัม ยังก์รวมอยู่ด้วย แห้ศาสดา จะไบ่ได้มีชีวิตอยู่จนเห็นพระวิหารนอวูสร้างเสร็จ แต่ในปี ค.ศ. 1845 และ ค.ศ. 1846 สิทธิชนหลายพันคนก็ได้รับเอ็นดาวเห้นท์พระวิหารจากบริลัม ยังก์ และคนอื่นๆ ที่เคยได้รับพรเหล่านี้จากศาสดา

การปฏิปัติศาสนกิจของโจเซฟ สบิธใกล้จะสิ้นสุด

ขณะที่สิทธิชนเริ่มจะอยู่อย่างสงบพอสมควรในนอวู เมฆหมอกของการ ข่มเหงกลับปกคลุมรอบตัวศาสดาหนาขึ้นทุกวัน และท่านรู้สึกว่าพันธกิจทาง โลกของท่านใกล้สิ้นสุดแห้ว ณ การประชุมที่น่าจดจำในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1844 ศาสดาได้มอบหน้าที่ให้อัครสาวกสิบสองปกครองศาสนาจักรหลังจากท่าน เสียชีวิต โดยอธิบายว่าเวลานี้พวกเขามีกุญแจและอำนาจที่จำเปีนแล้วทั้งหมด วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ สมาชิกโควรัมอัครสาวกสิบสองในเวลานั้นประกาศภายหลัง ว่า “ข้าพเจ้าแสดงประจักษ์พยานว่า ด้นฤดูใบไห้ผลิ ค.ศ. 1844 ในนอวู ศาสดา ใจเซฟ สมิธเรียกอัครสาวกสิบสองมารวมกันและมอบพิธีการของศาสนาจักร และอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้าให้พวกเขา กุญแจและพลังอำนาจทั้งหมดที่ พระผู้เป็นเจ้าทรงมอบให้ท่าน ท่านได้ผนึกไร้บนศีรษะพวกเราและท่านบอกเรา ว่าเราด้องร่วมแรงร่วมใจกันแบกรับอาณาจักรนี้ หาไบ่แล้วเราจะถูกกล่าวโทษ …ใบหน้าท่านกระจ่างใสราวอำพัน ท่านเต็มไปด้วยพลังอำนาจที่ข้าพเจ้าไบ่เคยเห็นในมนุษย์คนใดมาล่อน”22 หลังจากศาสดาเสียชีวิต ความรับผิดชอบต่อ ศาสนาจักรและอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้าบนแผ่นดินโลกจึงตกอยู่กับโควรัมอครสาวกสิบสอง

ในเดือนมิถุนายน ค.ศ. 1844 ศาสดาถูกกล่าวหาอย่างไม่เปีนธรรมโทษฐาน ล่อการจลาจล แห้จะตัดสินให้ท่านพันข้อกล่าวหาครั้งนี้ในนอวู แต่โธบัส ฟอร์ด ผู้ว่าการรัฐอิลลินอยส์กลับยืนกรานให้ใจเซฟยอมรับการไตต่สวนด้วยข้อหาเดืยวกน ณ ที่ว่าการของแฮนล็อคเคาษ์ตี้ในเมืองคาร์เทจ รัฐอิลลินอยส์ ศาสดากับ ไฮรัมพี่ชายมาถึงคาร์เทจ พวกท่านได้รับอนุญาตให้ประกันตัวในข้อหาเดิม แต่ จากนั้นก็ถูกกล่าวหาโทษฐานทรยศต่อรัฐอิลลินอยส์ ซึ่งเปีนความผิดที่ไม่ได้รับ อนุญาตให้ประกันตัว ใจเซฟกับไฮรัมถูกจับและถูกคุมขังอยู่ในคุกของห้องที่ตัง กล่าว

ช่วงบ่ายที่ร้อนอบอ้าวของวันที่ 27 มิถุนายน ค.ศ. 1844 คนร้ายมอมหห้า สีดำกลุ่มหนึ่งบุกเข้ามาในคุกและกระท่าฆาตกรรมโจเซฟกับไฮรัม ราวสามชั่วโมงให้หลัง วิลลาร์ด ริชาร์ตส์และจอห์น เทย์เลอร์ผู้อยู่ในคุกกับผู้เปีนมรณสักขี ทั้งสองท่านได้ส่งข่าวกันน่าสลดใจไปที่นอวูว่า “คุกคาร์เทจ สองทุ่มห้านาที วันที่ 27 มิถุนายน ปี 1844 โจเซฟกับไฮรัมเสียชีวิตแล้ว … เกิดเหตุขึ้นอย่าง ฉับพลัน”23 ด้วยวัย 38 ปี ศาสดาโจเซฟ สมิธผนึกประจักษ์พยานด้วยเลือด ของท่าน งานในชีวิตมรรตัยของท่านสำเร็จลุล่วง ศาสนาจักรและอาณาจักร ของพระผู้เป็นเจ้าเข้ารูปเข้ารอยพร้อมดำเนินต่อใปเปีนครั้งสุดท้ายบนแผ่นดิน โลก โจเซฟ สมิธถึงแก่กรรมด้วยกระสุนของผู้ลอบสังหาร พระเจ้าทรงเปีน พยานถึงศาสดาโจเซฟ สมิธด้วยพระองค์เองดังนี้ “เราได้เรียกหา [โจเซฟ สมิธ] โดยเทพของเรา ผู้รับใช้ของเราที่ปฏิบัติ และโดยเสียงของเราเองจากท่องฟ้าเพื่อ น่างานของเราออกมา ซึ่งรากฐานนั้นเขาได้วางไว้และซื่อสัตย์ และเรารับเขาไว้ กับตัวเรา หลายคนแปลกใจเพราะการตายของเขา แดต่บันจำเปีนที่เขาจะผนึก ประจักษ์พยานของเขาด้วยเลือดของเขาเพื่อเขาจะได้รับเกียรติและคนชั่วว้ายจะ ได้ถูกกล่าวโทษ” (ค.พ. 136:37–39)

ศาสดาโจเซฟ สมิธ ผู้พยากรณ์ที่ยิ่งใหญ่ของยุคสุดท้าย เป็นผู้รับใช้ที่กล้า หาญเยี่ยงอัศวินและเชื่อฟ้งพระผู้สูงสุด ประธานบริกัม ยังก์ยืนยันว่า “ช้าพเจ้า ไบ่คิดว่าจะมีใครบนแผ่นดินโลกรู้จักท่านดีไปกว่าช้าพเจ้า และข้าพเจ้ากล้าพูดว่า นอกจากพระเยซูคริสต์แล้ว ไบ่มีใครที่เคยอยู่หรืออยู่บนแผ่นดินโลกเวลานี้จะดี ไปกว่าท่าน ข้าพเจ้าเป็นพยานได้”24

อ้างอิง

  1. Wilford Woodruff, Deseret News: Semi-Weekly, Nov. 25, 1873, p. 1.

  2. เพราะมีเพียงเก้าคนในจำนวนบุตรสิบเอ็ด คนของโจเซฟ สมีธ ซีเนียร์และลูซี แม็ค สมีธที่อยู่เลยวัยทารก เราจึงพูดกันทั่วไป ว่าครอบครัวท่านมีบุตรเก้าคน แคธารีน (Katharine) น้องสาวของโจเซฟใช้คำ สะกดชื่อตนเองหลายแบบ รวมทั้งแคเธอรีน (Catherine)

  3. Joseph Smith, History 1832, p. 1; Letter Book 1, 1829–35, Joseph Smith, Collection หอจดหมายเหตุ ของศาสนาจักร ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุคสุดท้าย ซอลท้เลศ ซิตี้ ยูทาห์

  4. Joseph Smith, History 1832, p. 1; Letter Book 1, 1829–35, Joseph Smith, Collection หอจดหมายเหตุของ ศาสนาจักร

  5. History of the Church, 4:536; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมีธเขียนตามคำขอ ของจอห์น เวนท้เวิร์ธและจอร์จ บาเสโทว์ นอวู อิลลินอยส์ จัดพีมพีใน Times and Seasons, Mar. 1, 1842 p. 707

  6. History of the Church, 4:536–37; จากจดหมายที่โจเซฟ สมีธเขียนตามคำขอของจอห์น เวนท้เวิเธและจอเจ บาเสโทว์ นอวู อิลลินอยส์ จัดพีมพีใน Times and Seasons, Mar. 1, 1842, p. 707

  7. ฝ่ายประธานสูงสุดชุดแรกประกอบด้วย โจเซฟ สมีธ ประธาน ซิดนีย์ ริกดันและ เจสซิ กอซที่ปรึกษา ไม่กี่เดือนหลังจาก เจสซิ กอซเป็นสมาชิกในฝ่ายประธาน สูงสุด เขาก็ออกจากศาสนาจักร วันที่ 18 มีนาคม ค.ศ. 1833 เฟรเดอรึค จี. วิลเลียมส์ได์รับการวางมือมอบหน้าที่เป็น ที่ปรึกษาในฝ่ายประธานสูงสุด

  8. History of the Church, 6:364; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมืธเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม ค.ศ. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดยโธมัส บัลล็อค

  9. ปัจฉิมลิขิตที่โจเซฟ สมืธเขียนต่อน้าย จดหมายที่ออลิเวอร์ คาวเดอรีเขียนถึง ผู้นำศาสนาจักรในแจ็คสันเคาน้ตี้ มืสซู่รี 10 ส.ค. 1833 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ หอ จดหมายเหตุของศาสนาจักร

  10. History of the Church, 3:294; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมืธและคนอื่นๆ เขียน ถึงเอ็ดเวิร์ด พาร์ทรึดจ์และศาสนาจักร 20 มี.ค. 1839 คุกลิเบอร์ตี้ ลิเบอร์ตี้ มืสซู่รี

  11. จดหมายที่เอ็มมา สมืธเขียนถึงใจเซฟ สมืธ 7 มี.ค. 1839 ควินซี อิลลินอยส์ ใน Letter Book 2, 1837–43, p. 37, Joseph Smith, Collection หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร

  12. History of the Church, 4:437–38; เว้นวรรคใหม่ใน้ทันสมัย; จากจดหมายที่ อัครสาวกสิบสองเขียนถึง “พี่น้องชายที่ กระจายอยู่ทั่วทวีปอเมริกา” 12 ต.ค. 1841 นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมพี่ใน Times and Seasons, Oct. 15, 1841, p. 569

  13. เดือนพฤษภาคม 1831 ไม่นานหลังจาก ลูกแฝดของตนเองเสียชีวิต โจเซฟและ เอ็มมารับเด็กแฝดแรกเกิดของสมาชิก ศาสนาจักรจอห์นและจูเลีย เมอร์ด็อคเป็น บุตรบุญธรรม ตั้งชื่อเด็กแฝดเมอร์ด็อคว่า โจเซฟ และจูเลีย ซีสเตอร์เมอร์ด็อค เสียชีวิตจากการคลอดบุตรและบราเดอร์ เมอร์ด็อค ซึ่งขณะนั้นมีดูกกำพร้าอยู่แล้ว น้าคน ขอร้องใน้ครอบครัวสมีธรับเลี้ยง นำเด็กแฝดคูดังกล่าว

  14. History of the Church, 6:554; ล้อยแถลงของโจเซฟ สมีธเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน 1844 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย แดน โจนส์

  15. Mary Isabella Horne, “Testimony of Sister M. Isabella Home,” Woman’s Exponent, June 1910, p. 6.

  16. จดหมายที่จอร์จ ดับเบิลยู. แทกการ์ท เขียนถึงพี่น้องชายของท่านในนิวแฮมพ์เชียร์ 10 ก.ย. 1843 นอวู อิลลินอยส์ ในอัลเบิร์ต แทกการ์ท Correspondence, 1842–48 and 1860 หอจดหมาย เหตุของศาสนาจักร

  17. จดหมายที่วิลเลียม เคลย์ดันเขียนถึงสมาชิกศาสนาจักรในแมนเชสเตอร์ อังกฤษ 10 ธ.ค. 1840 นอวู อิลลินอยส์ หอ จดหมายเหตุของศาสนาจักร

  18. Angus M. Cannon, ใน “Joseph, the Prophet,” Salt Lake Herald Church and Farm Supplement, Jan. 12, 1895, p. 212.

  19. Brigham Young, Deseret News: Semi-Weekly, Sept. 15, 1868, p. 2.

  20. History of the Church, 3:304; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมีธและคนอื่นๆ เขียนถึงเอ็ดเวิร์ด พาร์ทริดจ์และศาสนาจักร 20 มี.ค. 1839 คุกลิเบอร์ตี้ ลิเบอร์ตี้ มีสซู่รึ

  21. ดู คำสอนและพันธสัญญา 132, บทนำ ของภาค

  22. วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ ล้อยแถลงเมื่อวันที่ 12 มี.ค. 1897 ในซอลน้เลคซีตี้ ยูทาห์ ใน Journal History of The Church of Jesus Christ of Latter-day Saints, Mar. 12, 1897, p. 2.

  23. History of the Church, 6:621–22; จากคำสั่งของวิลลาร์ด วิชาร์ดส์และจอห์น เทย์เลอร์ 27 มิถุนายน 1844 คาร์เทจ อิลลินอยส์

  24. Brigham Young, Deseret News, Aug. 27, 1862, p. 65.

log home

ในช่วงทลาของภาพปรากฏฅรั้งแรก ไจเซฟ สนิธ อาศัยอยู่กับทรอบทรัวของท่าน ในบ้านไม้ซุงที่ พอลไมรา นิวยอร์ก

map of Palmyra

ไร่ของ มาร์ดิน แฮร์ริส

ที่ฝืงศพของ อัลวิน สมิธ

โรงพิมพ์ของ อี.บี. แกรนดิน

ไร่ของ โจเซฟส มิ ธ ซีเนียร์

บ้านไม้ซงฃอง โจเซฟ สมิธ ซีเบียร์

ป่าไม้ ศักดิ้สิทธิ้

บ้านไม้ขุงของ โจเซฟ สมิธ ซีเบียร์

เนินเขา คาโมราห์

หม่บ้ไน พอลไมรา

มาเซดอน ทาวน์ชิพ

พอลไมรา ทาวน์ชิพ

เวย์น เคาน์ตี้

ออนทาริโอเคาน์ตี้

แมนเชสเตอร์ ทาวน์ชิพ

ฟาร์มิงตัน ทาวน์ชิพ

ออนทาริโอเคาน์ตี้

เวย์น เคาน์ตี้

คลองอีรี

เรด ครีก

แฮธาเวย์ บรูค

ถนนคาเน้นไดคัว

ถดนนสเเฟฟอร์ด

N

ไมล์

0

1/2

1

กิโลเมตร

0

1

2

เขตพอถไมรา นิวยอร์ก เหตุการณ์สำคัญหลายเหตุการณ์ในช่างแรกเริ้ของประวัติศาสนาจักร เกิดขึ้นที่นิ่ รวมทั้งภาพปรากฏครั้งแรกและการมาเยือน ใจเซฟ สมิรของเทพโมโรไนด้วย

Sacred Grove

ปาศักดิ้ลิทธิ้ประมฺาฌปี 1907 ไนฤดูใบไม้ผลิของปี 1820 เด็กหนุ่มโจเซฟ สป็ธ เม้าไปในป้าไม้แห่งนี้ ซึ่งอยู่ใกล้ม้านของเขา เพื่อสวดล้อนวอนขอการนำทางจากพระเจ้า

Emma Smith

เอมมา สมิธ

Peter Whitmer Sr. home

บ้านจำลองของปีเตอร์วิตมอร์ ซีเนียร์ ในฟเยทท์ นิวยอร์ก บ้านที่สร้างขึ้นใหม่นี้ตั้งอยู่บนพึ้นที่ซึ่งศาสดาจัดตั้งศาสนาจักรอย่างเป็นทางการ เฌื่อวันที่ 6 เมษายน 1830

Church history sites

อินดิเพนเดนซ์

ริชมอนด์

ลิเบอร์ตี้

ฟาร์ทสด์

แอตัม-ออนได-อามัน

นควู

คาร์เทจ

ควินซี

เคิร์ทแลนด์

ไฮร์ม

วอชิงตัน ดี.ซี.

ฟิลาเดลเฟีย

นิวยอร์กซิตี้

โคลส์วิลล์

ฮาร์โมนี

แมนเชสเตอร์

พอลไมรา

เฟเยทท์

ชารอน

เขตแดนที่ไม่ได้จัดตั้ง

มิสซูรี

ไอโอวา

วิสคอนซิน

อิลลินอยส์

มิชิแกน

อินเดียนา

เคนทักกี

เทนเนสซี

นอร์ท แคโรไลนา

เวอร์จิเนีย

โอไฮโอ

เพนน์ซิลวาเนีย

นิวยอร์ก

เวอร์มอนต์

น.ฮ.

แคนาดา

มหาสมุทรแอตแลนติก

แม่น้ำมิสซิสซิปปี

พื้นที่สำคัญในประวัติศาสนาจักรช่วงแรกและในชีวิตของศาสดาโจเซฟ สป็ธ

Kirtland Temple

พระวิหารเลิร์ทแลนด์ ประมาณปี ค.ศ. 1900 พระวิหารแห่งนี้สร้างขึ้นจากการเสิยสละที่ยิ่งใหญ่ ของสิทธิชน แต่ต้องถูกทิ้งไปหลังจากการข่มเหงที่ขับไล่พวกเขาออกจากเคิร์ทแลนต้

Liberty Jail

คุกลิเบอร์ตี้ ซึ่งศาสดาโจเซฟ สนิธ ถูกคุมขังในช่วงฤดูหนาวของปี ค.ศ. 1838–1839

Mansion House

แมนขั่นเย้าย้ในนอวู ศาสดาโจเซฟ สมิธและครอบครัว ย้ายเข้าบ้านหลังนี้ในเดือนสิงหาคม ปี ค.ศ. 1843

Nauvoo Temple

พระวิหารนอวู กลางทศวรรษ 1840 พระวิหารถูกาผาในปี ค.ศ. 1848 หลังจากสิทธิชน ถูกบังคับให้ออกจากนอวู และต่อมาผนังบางส่วนถูกทำลาย โดยพายุทอร์นาโด ทำให้ผนังส่วนทีหลืออยู่ทรุดโทรมมากจนต้องรื้อทิ้ง

Carthage Jail

คุกคาร์เทจ ซึ่งศาสดาโจเซฟ สมิธ และไฮรัม พี่ชายของท่านถูกสังหารเป็นมรฌสักขี เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน 1844