คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 41: เป็นผู้ช่วยให้รอดบนเฃาไชอัน


บทที่ 41

เป็นผู้ช่วยให้รอดบนเฃาไชอัน

“พวกเขาจะเป็นผู้ช่วยให้รอดบนไซอันได้อย่างไร เป็นได้ โดยสร้างพระวิหาร สร้างอ่างบัพติศนา และออกไปรับพิธีการทั้งหมด … แทนบรรพชนผู้ล่วงลับไปแล้วทุกคน”

จากชีวิตฃองโจเซฟ สมิธ

เพราะสมาชิกศาสนาจักรอยู่ที่นอวูในทศวรรษที่ 1840 การทำงานแทนญาติพี่ น้องที่เสียชีวิตจึงเป็นงานหลัก นับตั้งแต่ประกอบพิธีบัพติศมาแทนคนตายครั้ง แรกในสมัยการประทานนี้เมื่อป็ ค.ศ. 1840 สิทธิชนก็ค้นหาข้อมูล เชื้อสาย บรรพชนของตนเรื่อยมาและหลายคนเข้าสู่น้ำนัพติศมาแทนบุคคลผู้เป็นที่รัก เหล่านี้ที่ล่วงลับไปแล้ว

ครั้งแรก นัพติศมาแทนคนตายกระทำในแม่น้ำมิสซิสซิปป็หรือในลำธาร บริเวณนั้น แต่ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1841 เมื่อสิทธิชนวางแผนสร้างพระวิหาร นอวู พระเจ้าทรงประกาศว่า “ไม่มีอ่างบัพติศมาบนแผ่นดินโลกที่คนทั้งหลาย สิทธิชนของเรา จะรับบัพติศมาแทนคนที่ตายแค้ว เพราะพิธีการนี้เป็นของบัาน ของเราและจะเป็นที่ยอมรับไม่ได้ต่อเรา นอกจากในวันเวลาแห่งความยากจน ของเจ้า ซึ่งเวลานั้นเจ้าไม่สามารถจะสร้างบ้านให้เราได้” (ค.พ. 124:29–30)

บัพติศมาแทนคนตายในแม่น้ำหยุดชะงักเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม ค.ศ. 1841 เมื่อศาสดาประกาศว่า “จะไม่มีนัพติศมาแทนคนตายอีก จนกว่าจะสามารถทำ พิธีการในพระนิเวศน์ของพระเจ้าได้ … เพราะพระเจ้าตรัสดังนั้น1 สิทธิชนจึง เร่งสร้างอ่างไห้ชั่วคราวในห้องใด้ดินขุดใหม่ของพระวิหารนอวู อ่างที่สร้างจาก ไห้สนวิสคอนซินตั้งอยู่บนหลังวัวไม้ 12 ตัว และได้รับการอุทิศเมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน ให้ใช้ไปก่อน “จนกว่าพระวิหารจะเสร็จ เมื่อจะจัดหาอ่างที่ทนทาน กว่ามาวางแทน”2 วันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ. 1841 สมาชิกหกคนในโควรัม อัครสาวกสิบสองประกอบพิธีนัพดิศมาให้ผู้เสียชีวิต 40 คน นับเป็นการบัพดิศมาแทนคนตายครั้งแรกที่ประกอบพิธีในอ่าง

ประสบการณ์ช่วงแรกๆ ของสิทธิชนกับการบัพติศมาแทนคนตายสอนพวก เขาถึงความสำคัญของการจดบันทึกในศาสนาจักรของพระเจ้า แม้การบัพติศมา แทนคนตายในแม่นํ้าของทึองที่นั้นจะประกอบพิธีโดยอำนาจฐานะปุโรหิตที่ถูก ต้อง แต่ไม่ไต้บันทึกอย่างเป็นทางการ ต้วยเหตุนี้จึงต้องประกอบพิธีบัพติศมา เหล่านั้นอีกครั้ง ในคำปราศรัยเมื่อวันที่ 31 สิงหาคม ค.ศ. 1842 ศาสดาอธิบาย ดังนี้ “ทุกคนที่รับบัพติศมาแทนคนตายต้องมีผู้จดบันทึกหนึ่งคนอยู่ที่นั่น เพื่อ เขาจะเป็นพยานผู้เห็นเหตุการณ์ จดบันทึก ให้ถ้อยอำยืนยันความจริงและความ ถูกต้องของบันทึกของเขา … ต้วยเหตุนี้จึงขอให้ดำเนินการเรื่องบันทึกและการ เป็นพยานบัพติศมาแทนคนตายอย่างละเอียดถี่ถ้วนนับจากนี้เป็นต้นไป”3 ศาสดาอธิบายเรื่องดังกล่าวไว้ยาวมากในจดหมายที่ท่านเขียนถึงสิทธิชนในวันกัดมา และในจดหมายอีกฉบับหนึ่งซึ่งเขียนเมื่อวันที่ 6 กันยายน ปัจจุบันจดหมายทั้ง สองฉบับคืออำสอนและพันธสัญญาภาค 127 และ 128

ในภาค 127 ศาสดาบันทึกอำแนะนำต่อไปนี้จากพระเจ้า “เมื่อใครในเจ้ารับ บัพติศมาแทนคนตายของเจ้า ให้มีผู้ทำบันทึกและให้เขาเป็นพยานที่เห็นบัพติสมาของเจ้า ให้เขาไต้ยินต้วยหูของเขา เพื่อเขาจะให้ถ้อยอำถึงความจริง พระเจ้าตรัส เพื่อในการทำบันทึกทั้งหมดของเจ้าจะบันทึกบันไว้ในสวรรค์ … และ อนึ่ง ให้มีบันทึกทั้งหมดเป็นระเบียบ เพื่อจะเก็บบันไว้ในที่เก็บเอกสารของ วิหารอันศักดสิทธี้ของเรา เพื่อจะอยู่ในความทรงจำจากคนชั่วอายุหนึ่งถึงคนอีก ชั่วอายุหนึ่ง” (ค.พ. 127:6–7, 9)

ขณะที่สิทธิชนดำเนินงานศักดิ์สิทธี้นี้ “ไม่นานก็เห็นว่าบางคนมีบันทึกคน ตายยาวมากที่พวกเขาประสงค์จะประกอบพิธีการให้” เอ็ลเดอร์จอร์จ เอ. สมิธ สมาชิกโควรัมอัครสาวกสิบสองกล่าว “ที่เห็นนี้เป็นเพียงการเริ่มต้นงานกันกว้าง ใหญ่ไพศาล และการปฏิบัติพิธีการทั้งหมดของพระกิตติคุณให้คนตายมากมาย ไม่ใช่งานเล็กๆ อัครสาวกสิบสองบางคนถามใจเซฟว่าไม่มีวิธีการที่สั้นกว่านี้หรือ ในการปฏิบติพิธีการให้คนมากขนาดนั้น ใจเซฟตอบว่า ‘กฎของพระเจ้าเปลี่ยนแปลงไม่ไต้ เราต้องกระทำตามที่เป็ดเผยต่อเราอย่างครบถ้วน เราต้องไม่คิดว่า จะทำงานใหญ่นี้สำหรับคนตายในเวลากันสั้น’ ”4

คำสอนฃองโจเซฟ สมิธ

หลักคำสอนเรื่องความรอดสำหรับคนตายแสดงให้เห็นสิงความ ยิ่งใหญ่แห่งพระปรีชาญาณและพระเมตตากรุณาของพระผู้เห็นเจ้า

“ทุกคนที่ไม่มีโอกาสได้ยินพระกิตติคุณต้องมีโอกาสนั้นหลังจากผู้ได้รับการ ดลใจในเนื้อหนังปฏิบัติพิธีการให้เขาก่อนที่เขาจะได้รับการพิพากษาในท้าย ที่สุด”5

“ไม่มีเรื่องใดที่พระผู้เป็นเจ้าทรง ช่วยให้ คนตาย รอด จะเหลือเชื่อเท่ากับ เรื่องที่พระองค์จะทรง ทำให้ คนตาย ฟืน

“ไม่เคยมีเวลาใดที่วิญญาณแก่เกินกว่าจะเข้าเฟ้าพระผู้เป็นเจ้า ทุกคนผู้มิโต้ กระทำบาปที่ยกโทษให้ไม่ได้ซึ่งไม่มีการอภัยในโลกนี้และในโลกที่จะมาถึง ล้วน อยู่ในรัศมีแห่งพระเมตตาอภัยโทษ มีวิธีหนึ่งในการปลดปล่อยวิญญาณของคน ตาย นั่นคือโดยพลังและอำนาจของฐานะปุโรหิต—โดยผูกและปล่อยบนแผ่น ดินโลก หลักอำสอนดังกล่าวเป็นเรื่องน่ายินดี เพราะแสดงให้เห็นถึงความยิ่ง ใหญ่แห่งพระกรุณาและเมตตาธรรมอันสูงส่งในขอบเขตแผนแห่งความรอดของ มนุษย์

“ความจริงอันน่ายินดีนื้นุ่งหมายจะขยายความเข้าใจและคํ้าจุนจิตวิญญาณที่ อยู่ในความทุกข์ยาก ความยุ่งยาก และความเศร้าโศก ยกตัวอย่างเช่น สมมุติ ว่ามีชายสองคนเป็นพี่ท้องลัน มีสติปัญญา การศึกษา คุณธรรมและความดีงาม ทัดเทียมกัน ดำเนินชีวิตในความเที่ยงธรรมและมโนธรรมอันดี เท่าที่พวกเขา จะสามารถแยกแยะถูกผิดจากสายธารอันขุ่นคลั่กของประเพณีหรือจากหท้ากระดาษเลอะหมึกของดำราว่าด้วยธรรมชาติวิสัย

“คนหนึ่งเสียชีวิตและถูกฟ้ง โดยไม่เคยได้ยินพระกิตติคุณเรื่องการกลับคืน ส่วนอีกคนหนึ่งได้รับข่าวสารแห่งความรอด เขาได้ยินและท้อมรับ และถูกทำให้ เป็นทายาทของชีวิตนิรันดร คนหนึ่งเป็นผู้มีส่วนในรัศมีภาพ ส่วนอีกคนหนึ่งต้อง ถูกส่งไปสู่หายนะที่ไร้ความหวังอย่างนั้นหรือ ไม่มีโอกาสให้เขาหมีท้นหรือ นิกายต่างๆ ตอบว่า ‘ไม่มี’ …

“หลักคำสอนเรื่องนี้แสดงให้เห็นชัดเจนถึงพระปรีชาญาณและพระเมตตา ของพระผู้เป็นเจ้าในการเตรียมพิธีการเพี่อความรอดของคนตาย ด้วยการบัพติสมาโดยตัวแทน ชื่อของพวกเขาถูกบันทึกไวัในสวรรค์และได้รับการพิพากษา ตามการกระทำที่ทำไว้ในร่างกาย หลักคำสอนเรื่องนี้เป็นสาระสำคัญของพระคัมภีร์ สิทธิชนเหล่านั้นผู้ไมไสไจจะกระทำแทนญาติพี่น้องที่เสียชีวิตย่อมทำให้ ความรอดของตนตกอยู่ในอันตรายด้วย”6

ในเดือนธันวาคม ค.ศ. 1840 ใจเซฟ สมิธเขียนถึงสมาชิกโควรัมอัครสาวก สิบสองและผู้นำฐานะปุโรหิตคนอื่นๆ ผู้กำลังรับใช้งานเผยแผ่ในสหราชอาณาจักรดังนี้ “ข้าพเจ้าคิดว่าหลักคำสอนเรื่อง ‘บัพติศมาแทนคนตาย’ เคยผ่านหู ท่านมาแล้วก่อนจดหมายฉบับนี้ และอาจจะมีคำถามบางอย่างในใจท่านเกี่ยว กับเรื่องดังกล่าว ในจดหมายฉบับนี้ข้าพเจ้าไม่อาจให้ข้อมูลทุกอย่างในเรื่องที่ ท่านปรารถนาจะรู้ แต่ … ข้าพเจ้าอยากบอกว่าศาสนาจักรสมัยโบราณปฏิบัติ พิธีการนี้และนักบุญเปาโลพยายามยืนยันคำสอนเรื่องการพ่นคืนชีวิตด้วย ท่าน กล่าวว่า ‘มิฉะนั้นคนเหล่านั้นที่รับบัพติศมาสำหรับคนตาย เขาทำอะไรคัน ล้า พระเจ้าไม่ทรงชุบคนตายให้เป็นขึ้นมา เหตุไฉนจึงมีคนรับบัพติศมาสำหรับคน ตายเล่า’ [1 โครินธ์ 15:29]

“ข้าพเจ้าพูดถึงคำสอนเรื่องนี้ต่อสาธารณชนเป็นครั้งแรกเมื่อเทศนาสั่งสอน ในงานศพของบราเดอร์เซย์บัวร์ บรันชัน และนับแต่นั้นก็ได้ให้คำแนะนำทั่วไป ในศาสนาจักรเกี่ยวคับเรื่องนี้ สิทธิชนมีอภิสิทธของการรับบัพติศมาแทนญาติ พี่น้องผู้ล่วงลับ … แน่นอนว่าท่านจะเห็นความสอดคล้องและความมีเหตุผล ของเรื่องนี้ได้โดยไม่ด้องอรรถาธิบายมากกว่านี้ และบางทีเรื่องดังกล่าวอาจนำ เสนอพระกิตติคุณของพระคริสต์ได้ละเอียดกว้างไกลกว่าที่บางคนคิด”7

เราเป็นผู้ช่วยให้รอดบนเขาไชอันโดยประกอบ พิธีการศักดิ้สิทธิ้ให้คนตาย

“หากโดยอำนาจของฐานะปุโรหิตแห่งพระบุตรของพระผู้เป็นเจ้า เราสามารถ ให้บัพติศมาชายคนหนึ่งในพระนามของพระบิดา ของพระบุตร และของพระวิญญาณบริสุทธิ้เพี่อการปลดบาปได้ เราย่อมมีอภิสิทธเท่าคันที่จะกระทำและ รับบัพติศมาเพี่อการปลดบาปแทนและในนามของญาติผู้ล่วงลับซึ่งไม่เคยได้ยิน พระกิตติคุณหรือความสมบูรณ์ของพระกิตติคุณ”8

“พระคัมภีร์ไบเบิลกล่าวว่า ‘เราจะส่งเอลียาห้ผู้เผยพระวจนะมายังเจ้าก่อน วันแห่งพระเจ้า คือวันที่ใหญ่ยิ่งและน่าสะพรึงกลัวมาถึง และท่านผู้นั้นจะ กระทำให้จิตใจของพ่อบันไปหาลูก และจิตใจของลูกบันไปหาพ่อ หาไม่ เราจะมาโจมตีแผ่นดินนั้นด้วยคำสาปแช่ง’ [มาลาคี 4:5–6]

“คำว่า หัน ในที่นี้ควรแปลว่า ผูกมัด หรือผนึก แต่อะไรคือวัตถุประสงค์ ของพันธกิจอันสำคัญนี้ หรือจะบังเกิดสัมถุทธิผลได้อย่างไร ด้องมอบกุญแจ วิญญาณของเอลียาห์ด้องมา พระกิตติคุณต้องได้รับการสถาปนา สิทธิชนของ พระผู้เป็นเจ้ามารวมกัน มีการสร้างไซอัน และสิทธิชนขึ้นมาเป็นผู้ช่วยให้รอด บนเขาไซอัน [ดู โอบาตีห์ 1:21]

“แต่พวกเขาจะเป็นผู้ช่วยให้รอดบนเขาไซอันได้อย่างไร เป็นได้โดยสร้าง พระวิหาร สร้างอ่างบัพดิศมา และออกไปรับพิธีการทั้งหมด บัพดิศมา การ ยืนยัน การลัาง การชโลม การวางมือแต่งตั้ง และอำนาจการผนึกบนศีรษะของ เขา แทนบรรพชนผู้ล่วงลับไปแด้วทุกคน และไถ่คนเหล่านั้นเพื่อจะออกมาใน การพื่นคืนชีวิตแรกและถูกยกขึ้นสู่บัลลังก์แห่งรัศมีภาพพร้อมลับพวกเขา และ นี่คือสายโซ่ที่ผูกบัดใจบรรพบุรุษกับลูกหลาน และลูกหลานกับบรรพบุรุษ อันจะทำให้พันธกิจของเอลียาห์บังเกิดลัมถุทธิผล …

“สิทธิชนมีเวลาไม่มากที่จะช่วยให้รอดและไถ่คนตายของเขา และรวบรวม ญาติพี่น้องที่มีชีวิตเพื่อให้พวกเขารอดด้วย ก่อนแผ่นดินโลกจะถูกลงทัณฑ์ และการสูญสิ้นที่ประกาศิตไว้จะเกิดขึ้นกับโลก

“ข้าพเจ้าขอแนะนำสิทธิชนทุกคนให้พยายามอย่างเต็มกำลังความสามารถ และรวบรวมญาติพี่น้องทั้งหมดที่มีชีวิตไป [พระวิหาร] เพี่อพวกเขาจะผนึก และได้รับความรอด เพี่อพวกเขาจะพร้อมรับวันเมื่อเทพผู้ทำลายจะออกไป และถ้าทุกคนในศาสนาจักรจะพยายามอย่างเต็มกำลังความสามารถเพี่อช่วยให้ คนตายรอด ผนึกลูกหลาน รวบรวมเพี่อนที่มีชีวิต และไม่เสียเวลาไปลับเรื่อง ทางโลก พวกเขาย่อมบรรลุผลสำเร็จก่อนถึงกลางคืนซึ่งเวลานั้นจะไม่มีผู้ใดทำงานได้เลย”9

“มีบัพติศมา ฯลฯ ให้ผู้มีชีวิตอยู่ได้ใช้ประโยชน์ และมีบัพติศมาสำหรับคน ตายผู้ล่วงลับโดยปราศจากความรู้ในพระกิตติคุณ… ท่านไม่เพียงด้องรับบัพติศมาแทนคนตายของท่านเท่านั้น แต่ท่านจะด้องรับพิธีการทั้งหมดแทนพวกเขาด้วย พิธีการเดียวลันลับที่ท่านได้รับเพี่อช่วยให้ตัวท่านรอด …

“… ควรจะมีสถานที่แห่งหนึ่งให้ทุกประชาชาติมีโอกาสขึ้นมารับเอ็นดาวเน้นฑ์ของตน และพระเจ้าตรัสว่านึ่จะเป็นสถานที่สำหรับการบัพติศมาแทนคน ตาย ทุกคนที่รับทัพติศมาแถ้วและเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรมีสิทธรับบัพติศัมาแทนผู้ล่วงลับไปก่อนเขา และทันทีที่ปฏิบัติกฎแห่งพระกิตติคุณบนโลกนี้ โดยเพื่อนผู้ท่าหน้าที่เป็นตัวแทน พระเจ้าทรงมีผู้ปฏิบัติที่นั่นเพี่อทำให้พวกเขา เป็นอิสระ คนๆ หนึ่งอาจทำหน้าที่แทนญาติพี่น้องของเขา ด้วยเหตุนี้พวกเขา จึงทำให้พิธีการแห่งพระกิตติคุณซึ่งวางไว้ก่อนการวางรากฐานของโลกบังเกิดสัมฤทธิผล และเราอาจจะรับบัพติศมาแทนคนที่เรามีมิตรภาพมากมายให้เขา”10

“ทุกคนที่ตายในศรัทธาจะไปที่คุกแห่งวิญญาณเพี่อสั่งสอนคนตายในร่างกาย แต่มีชีวิตในวิญญาณ และวิญญาณเหล่านั้นสั่งสอนวิญญาณ [ที่อยู่ในคุก] ให้ ดำเนินชีวิตสอดคถ้องลับพระผู้เป็นเจ้าในวิญญาณ และมนุษย์จะปฏิบัติพิธีการ แทนพวกเขาในเนื้อหนัง…และพวกเขามีความสุขโดยวิธีเหล่านี้ [ดู 1 เปโดร 4:6] ฉะนั้น คนที่รับบัพติศมาแทนคนตายจึงเป็นผู้ช่วยให้รอดบนเขาไซอันและ พวกเขาด้องรับการถ้างและการชโลมแทนคนตายในแบบเดียวลันลับตัวเขา”11

พระผู้เร็เนเจ้าทรงมอบความรับผิดชอบอันยิ่งใหญ่ ให้เราเสาะหาคนตายของเรา

“ข้าพเจ้าจะเบิกตาท่านเกี่ยวกับคนตาย ทุกสิ่งไม่ว่าอะไรก็ตามที่พระผู้เป็น เจ้าในพระปรีชาญาณอันหาที่สุดบิได้ของพระองค์ทรงเห็นเหมาะสมและเห็น ควรเป็ดเผยต่อเราขณะที่เราอยู่ในความเป็นมรรตัย เกี่ยวกับร่างกายมรรตัยของ เรา ด้วนเป็ดเผยต่อเราเป็นนามธรรม และไม่มีความเกี่ยวพันใดๆ กับเนื้อหนัง นังสาที่เป็นมรรตัยนื้ แต่เป็ดเผยต่อวิญญาณของเราประหนึ่งว่าเราไม่มีร่างกาย เลย และการเป็ดเผยเหล่านั้นซึ่งจะช่วยจิตวิญญาณของเราให้รอดจะช่วยให้ร่างกายของเรารอดด้วย พระผู้เป็นเจ้าทรงเป็ดเผยต่อเราโดยทรงทราบว่าไม่มีการ สูญสลายชั่วนิรันดร์ของร่างกายหรือเนื้อหนังนังสา ดังนั้น ความรับผิดชอบ ความรับผิดชอบกันใหญ่หลวงที่ตกอยู่กับเราในเรื่องคนตายของเราคือด้องทำให้ วิญญาณทั้งหมดที่ไม่เชื่อฟ้งพระกิตติคุณในเนื้อหนังเชื่อฟ้งในวิญญาณหาไม่แลัว จะถูกกล่าวโทษ ช่างเป็นความคิดที่น่าเกรงขาม!—ช่างเป็นความคิดที่น่าสะพรึงกลัว! ไม่มีอะไรด้องท่าหรือ—ไม่มีการเตรียม—ไม่มีความรอดสำหรับบรรพบุรุษและบิตรสหายของเราผู้ล่วงลับโดยไม่มีโอกาสเชื่อฟ้งประกาศิตของบุตร มนุษย์เลยหรือ…

“มีสัญญาอะไรห้างในเรื่องความรอดของคนตาย และคนแบบใดคือคนที่จะ รอดแห้ร่างกายของเขากำลังผุพังและเน่าเป็อยอยู่ในหลุมศพก็ตาม เมื่อพระบัญญัติของพระองค์สอนเรา สิ่งนั้นเกี่ยวข้องกับนิรันดร เพราะพระผู้เป็นเจ้า ทรงถือเสมือนว่าเราอยู่ในนิรันดร พระผู้เป็นเจ้าทรงอยู่ในนิรันดรและบิได้ทรง มองเห็นอย่างที่เราเห็น

“ความรับผิดชอบอันใหญ่หลวงที่สุดในโลกนื้ที่พระผู้เป็นเจ้าทรงมอบให้เรา คือเสาะหาคนตายของเรา อัครสาวกกล่าวว่า ‘เพื่อเขาทั้งหลายจะได้รับความ สมบูรณ์ด้วยกันกับเราเท่านั้น [พวกเขาจะดีพร้อมไม่ได้หากไม่มีพวกเรา]’ [ดู ฮีบรู 11:40] เพราะจำเป็นที่อำนาจการผนึกจะอยู่ในมือเราเพื่อผนึกลูกหลาน ของเราและคนตายของเราสำหรับสมัยการประทานความสมบูรณ์แห่งเวลา— สมัยการประทานตามสัญญาที่พระเยซูคริสต์ทรงทำได้ก่อนการวางรากฐานของ โลกเพื่อความรอดของมนุษย์

“…จำเป็นที่ผู้อยู่มาล่อนเราและผู้มาทีหลังเราจะมีความรอดเช่นเดียวกับ เรา และพระผู้เป็นเจ้าจึงทรงยกให้เป็นหห้าที่ของมนุษย์ พระผู้เป็นเจ้าตรัสดังนื้ ‘เราจะส่งเอลียาห์ผู้เผยพระวจนะมายังเจ้าล่อนวันแห่งพระเจ้า คือวันที่ใหญ่ยิ่ง และน่าสะพรึงกลัวมาถึง และท่านผู้นั้นจะกระทำให้จิตใจของพ่อหันไปหาลูก และจิตใจของลูกหันไปหาผ่อ หาไม่ เราจะโจมตีแผ่นดินนั้นด้วยคำสาปแช่ง’ [มาลาคี 4:5–6]”12

ศาสดาโจเซฟ สนิธเขียนในจดหมายถึงสิทธิชนซึ่งต่อมาบันทึกไวัในคำสอน และพันธสัญญา 128:15–18, 22, 24 ดังนี้ “และหัดนี้ พี่น้องชายหญิงที่รักยิ่ง ของข้าพเจ้า ใหัข้าพเจ้ายืนยันท่านว่า นี่เป็นหลักธรรมเกี่ยวกับคนตายและคน เป็นที่จะมองข้ามไปเล่นๆ ไม่ได้เกี่ยวกับความรอดของพวกเรา เพราะความ รอดของคนเหล่านั้นจำเป็นและสำคัญต่อความรอดของเรา ดังที่พอลกล่าวเกี่ยว กับบรรพบุรุษ—ว่าจะทำให้เขาตีพร้อมไม่ได้ถ้าไม่มีพวกเรา—ทั้งจะทำให้พวกเรา ตีพร้อมไม่ได้ถ้าไม่มีคนตายของเรา

“และหัดนี้ เกี่ยวกับหัพดิศมาแทนคนตาย ข้าพเจ้าจะให้ข้อความของพอล อีกตอนหนึ่งแก่ท่าน 1 โครินธ์ 15:29: มิฉะนั้นเขาจะทำอะไรเล่าซึ่งรับบัพติศมา แทนคนตาย ทากคนตายไปลุกขึ้นอีกเลย ทำไมเขาจึงให้บัพติศมาแทนคนตาย เล่า

“และอนึ่ง เกี่ยวกับข้อความนี้ ข้าพเจ้าจะให้ข้อความจากศาสดาคนหนึ่งแก่ ท่าน ซึ่งตาของเขาเผ่าลูการฟื้นฟูฐานะปุโรหิต รัศมีภาพที่จะถูกเป็ดเผยในวัน เวลาสุดห้าย และในวิธีการพิเศษ เรื่องรุ่งโรจน์ที่สุดนี้ของเรื่องทั้งหมดเป็นของ พระกิตติคุณอันเป็นนิจคือ ม้พดิศมาแทนคนตาย เพราะมาละไคกล่าวในบท สุดห้ายข้อที่ 5 และที่ 6: ดูเถิด เราจะล่งถิไลจะศาสดามาให้เจ้าก่อนการมาของ วันอันยิ่งใหญ่และน่าสะพรึงกกัวของพระเจ้า และเขาจะพันใจของบรรพบุรุษมา หาลูกหลาน และใจของลูกหลานมาหาบรรพบุรุษของเขา เกลือกเราจะมาและ ลงพัฌฑ์แผ่นดินโลกด้วยการสาปแช่ง

“ข้าพเจ้าอาจจะท่าให้คำแปลของเรื่องนี้แจ้งชัดขึ้น แต่เท่าที่มีอยู่ก็แจ้งชัด เพียงพอลับความประสงค์ของข้าพเจ้า มันเพียงพอที่จะรู้ว่าในกรณีนี้ แผ่นดิน โลกจะถูกลงทัณฑ์ด้วยการสาปแช่ง เว้นแต่จะมีห่วงอย่างใดอย่างหนึ่งเชื่อมระหว่างบรรพบุรุษลับลูกหลานในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง—และดูเถิด เรื่องนั้นคืออะไร เล่า? คือหัพดิศมาแทนคนตาย เพราะจ ะทำให้พวกเราตีพร้อมไม่ได้ถ้าไม่มีพวก เขา ทั้งจะท่าให้พวกเขาตีพร้อมไม่ได้ถ้าไม่มีพวกเรา …

“…ให้ใจของท่านชื่นชมและยินดีอย่างยิ่ง ให้แผ่นดินโลกลิงโลดออกมา เป็นการร้องเพลง ให้คนตายเปล่งเพลงสดุดีแห่งคำสรรเสริญนิรันดร์ถวายกษัตริย์ อิมแมนิวเอลผู้ที่ล่อนโลกเป็นมาทรงแต่งตั้งสิ่งซึ่งจะท่าให้พวกเราสามารถไก่ พวกเขาออกจากที่คุมขังของเขา เพราะเชลยจะไปเป็นอิสระ …

“…ฉะนั้น ให้พวกเราดังศาสนาจักรและผู้คน และดังสิทธิชนยุคสุดท้าย ถวายเครื่องถวายในความชอบธรรมแต่พระเจ้าและให้พวกเราถวายหนังสือที่มี บันทึกของคนตายของเราในพระวิหารอันศักดสิทธี้ของพระองค์เมื่อมันเสร็จ ซึ่งจะมีค่าสมกับการยอมรับทั้งหมด”13

ข้อเสนอแนะสำหรับศึกษาและสอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หท้า ⅶ–ⅹⅱ

  • อ่านทวนหท้า 505–506 โดยสังเกตว่าใจเซฟ สมิธและสิทธิชนสมัยเริ่มแรก เติบโตในความเข้าใจเกี่ยวกับค่าสอนเรื่องบัพติศมาแทนคนตายอย่างไร พิจารณาว่าสิทธิชนน่าจะรู้สึกอย่างไรเมื่อพวกเขาเรียนรู้เรื่องความรอดของคนตาย เป็นครั้งแรก ท่านมีความรู้สึกอย่างไรเมื่อท่านมีส่วนร่วมในพิธีการสำหรับคน ตายเป็นครั้งแรก

  • อ่านย่อหท้าที่สามและสี่ในหท้า 507 ค่าสอนเรื่องความรอดสำหรับคนตาย แสดงให้เห็นถึงพระกรุณาและพระเมตตาของพระผู้เป็นเจ้าอย่างไร คำสอน นี้ “ขยายความเข้าใจ” และ “คํ้าจุนจิตวิญญาณ” ในทางใด

  • การเป็นผู้ช่วยให้รอดบนเขาไซอันหมายความว่าอะไร (ดูตัวอย่าง หท้า 508–510) ท่านคิดว่าเหตุใดบรรพชนที่เสียชีวิตแห้วของเราจึงถูกทำให้ดี พร้อมไม่ได้หากไม่มีพวกเรา ท่านคิดว่าเหตุใดพวกเราจึงถูกทำให้ดีพร้อมไม่ ได้หากไม่มีพวกเขา

  • อ่านทวนคำสอนบางตอนของศาสดาใจเซฟ สมิธเกี่ยวกับความรับผิดชอบ อันยิ่งใหญ่ของเราในการ “เสาะหาคนตายของเรา” (หท้า 510–513) ท่าน เคยมีประสบการณ์อะไรห้างขณะเรียนรู้เกี่ยวกับบรรพชนของท่าน ความรักที่ ท่านมีต่อครอบครัวและศรัทธาของท่านในพระผู้เป็นเจ้าทวีขึ้นอย่างไรขณะที่ ท่านเรียนรู้เกี่ยวกับบรรพชนของท่าน การประกอบพิธีการพระวิหารแทน บรรพชนของท่านส่งผลต่อความรู้สึกที่ท่านมีต่อพวกเขาอย่างไร

  • เราจะทำอะไรได้ห้างเพื่อช่วยให้เด็กๆ เห็นคุณอ่ามรดกครอบครัวของพวก เขา เราจะทำอะไรได้ห้างเพื่อช่วยให้เด็กๆ มีส่วนร่วมในงานพระวิหารและ ประวัติครอบครัว

ข้อพระคัมภีร์ที่เกี่ยวข้อง: โรม 14:9; ค.พ. 128:8–11

อ้างอิง

  1. History of the Church, 4:426; จากบันทึกการประชุมใหญ่ของศาสนาจักรเมื่อวันที่ 3 ตุลาคม 1841 ใน นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมพ์ใน Times and Seasons, Oct. 15, 1841, p. 578.

  2. History of the Church, 4:446–47; จาก “History of the Church” (ต้นฉบับ), book C–1, addenda, p. 44 หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร ศาสนาจักรของพระเยซูคริสต์แห่ง สิทธิชนยุคลุ[ดท้าย ซอลท้เลคซิตี้ ยูทาห์

  3. History of the Church, 5:141; จากคำปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อ 31 ส.ค. 1842 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย อีไลซา อาร์. สโนว์; ดู ภาคผนวก หน้า 604 ข้อ 3 ด้วย

  4. จอร์จ เอ. สมิธ คำปราศรัยเมื่อ 25 ธ.ค. 1874 ในเซนต์จอร์จ ยูทาห์; ใน St. George Stake, General Minutes, vol. 4 หอจดหมายเหตุ ของศาสนาจักร

  5. History of the Church, 3:29; จาก บทความที่จัดพิมพ์ใน Elders’ Journal, July 1838, p. 43; ใจเซฟ สมิธเป็น บรรณาธิการวารสาร

  6. History of the Church, 4:425–26; จากบันทึกการประชุมใหญ่ของศาสนาจักรเมื่อ 3 ต.ค. 1841 ในนอวู อิลลินอยส์ จัดพิมพ์ใน Times and Seasons, Oct. 15, 1841, pp. 577–78.

  7. History of the Church, 4:231; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จาก จดหมายที่โจเซฟ สมิธเขียนถึงอัคร สาวกสิบสอง 15 ธ.ค. 1840 นอวู อิลลินอยส์; จดหมายฉบับนี้ลงวันที่ ไว้ใน History of the Church. เป็น 19 ต.ค. 1840 ซึ่งไม่ลูกต้อง

  8. History of the Church, 4:569; จากคำปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อ 27 มี.ค. 1842 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ้; ดู ภาคผนวก หน้า 604 ข้อ 3 ด้วย

  9. History of the Church, 6:183–84; จากคำปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อ 21 ม.ค. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ้

  10. History of the Church, 6:365–66; ปรับเปลี่ยนการแบ่งย่อหน้า; จากคำ ปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อ 12 พ.ค. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงาน โดย โธบัส บัลล็อค

  11. อ้างโดย จอร์จ ลาอับ ในบทคัดลอกที่ รวบรวมมาจากคำปราศรัยของใจเซฟ สมิธ 1845; George Laub, Reminiscences and Journal, Jan. 1845–Apr. 1857, p. 21, หอจดหมายเหตุ ของศาสนาจักร

  12. History of the Church, 6:312–13; เปลี่ยนตัวสะกดให้ทันสมัย; จากคำ ปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 7 เม.ย. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงาน โดย วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ็ วิลลาร์ด ริชาร์ดส์ โธมัส บัลล็อค และวิลเลียม เคลย์ตัน

  13. ำสอนและพันธสัญญา 128:15–18, 22, 24; จดหมายที่ใจเซฟ สมิธเขียน ถึงสิทธิชน 6 ก.ย. 1842 นอวู อิลลินอยส์

Nauvoo Temple baptistry

พิธีบัพติศมาในพระวิหารนอวูที่สร้างขึ้นโหม่ ในอ่างบัพติศมาแบบเดียวกันนี้ สิทธิชนรับพิธีการบัพติศมาแทนผู้ล่วงลับ

family doing genealogy

“ความรับผิดขอบอันใหญ่หลวงที่สุดในโลกที่พระผู้เป็นเจ้า ทรงมอบให้เราคือเสาะหาคนตพของเรา”