คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 24: นำในวิธีของพระเจ้า


บทที่ 24

นำในวิธีของพระเจ้า

“ข้าพเจ้าสอนหลักธรรมที่ถูกต้องแก่พวณขาและ ให้พวกเ ขาปกครองตนเอง”

จากชีวิตฃองโจเซฟ สมิธ

ฃณะสิทธิชนในเคิร์ทแลนด์เริ่มทำงานและเสียสละเพื่อสร้างพระวิหารที่นั่น สิทธิชนในแจ๊คสันเคาน์ตี้ มิสซูรีกำลังเผชิญหน้ากับการข่มเหงอย่างรุนแรง ขณะที่จำนวนสมาชิกของศาสนาจักรที่ย้ายไปมิสซู่รีเพิ่มขึ้น การขัดแย้งกับผู้ที่ตั้ง รกรากมานานก็มากขึ้นเช่นกัน ชาวมิสซูรีเกรงว่าจะสูญเสียการปกครองทาง การเมือง พวกเขาคลางแคลงใจกับความเชื่อทางศาสนาซึ่งไมช่เป็นที่คุ้นเคยของ ศาสนาจักร และพวกเขาไบ่ชอบที่สิทธิชนมักทำการค้ากับพวกเดียวกัน กลุ่ม คนร้ายเริ่มข่มเหงสิทธิชนหมักขึ้น ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1833 พวกเขา บังคับให้สิทธิชนออกจากน้านเรือน สิทธิชนต้องละทิ้งปศุสัตว์และข้าวของเครื่อง ใช้ส่วนใหญ่ในน้านไว์เบื้องหลัง หลบหนีขึ้นเหนือไปที่เคลย์เคาน์ตี้ มิสซู่รี ซึ่ง อาศัยเป็นที่พักพิงชั่วระยะเวลาหนึ่ง

ศาสดาใจเซฟ สมิธ ซึ่งอาศัยอยู่ในเคิร์ทแลนด์กังวลอย่างยิ่งเกี่ยวกับความ เดือดร้อนของสิทธิชนในมิสซูรี และท่านต้องการช่วยพวกเขา ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1834 พระเจ้าทรงเป็ดเผยต่อท่านว่าท่านควรจัดกองกำลังสิทธิชน เดินทางไปแจ๊คกันเคาน์ตี้ กองกำลังนี้ชื่อว่าค่ายไซอัน มืจุดประสงค์คือช่วยนำ ที่ดินและทรัพย์สมบัติที่ถูกยึดไปอย่างผิดกฎหมายกลับคืนมาให้สมาชิกของ ศาสนาจักร (ดู ค.พ. 103:21–40) ค่ายตั้งขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 6 พฤษภาคม ค.ศ. 1834 และในที่สูดก็รวบรวมคนไต้ 200 กว่าคน กองกำลัง ติดอาวุธและจัดขบวนคค้ายกองทหารนี้มาถึงบริเวณใกค้แจ๊คลันเคาน์ตี้กลาง เดือนมิถุนายนหลังจากเดินทางมามากกว่า 1,450 กิโลเมตร

สมาชิกค่ายเดินเป็นระยะทางไกลทุกวัน บ่อยครั้งที่ต้องทนทุกข์ทรมานกับ ความร้อน ขาดแคลนทิ้งอาหารและนํ้าสะอาดที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต เนื่องจาก ต้องอยู่ใกล้ชิดกันตลอดการเดินทางเป็นเวลาหลายสัปดาห์บวกกับความเหนื่อย ล้าและความหิวโหยจึงน่าไปสู่การทะเลาะเบาะแว้งและวิพากษ์วิจารณ์ศาสดา

ถึงแม้จะมีป้ญหาเกี่ยวกับการเดินทางที่อันตรายและยากลำบาก แต่โจเซฟ สมิธไต้สอนหลักธรรมสำคัญของการเป็นผู้น่าให์สมาชิกค่ายขณะน่าพวกเขาวัน แล้ววันเล่า วิลฟอร์ด วูดรัฟฟ้ สมาชิกคนหนึ่งของค่ายไซอันซึ่งต่อมาเป็นประธานคนที่สี่ของศาสนาจักรประกาศว่า “เราไต้รับประสบการณ์ที่เราไบ่อาจรับไต้ต้วยวิธีอื่น เรามีสิทธิพิเศษในการไต้เห็นใบหน้าศาสดา และเรามีสิทธิพิเศษใน การเดินทางร่วมกับท่านหนึ่งพันไมล์ และไต้เห็นการท่างานของพระวิญญาณของ พระผู้เป็นเจ้าที่สถิตอยู่กับท่าน และการเป็ดเผยของพระเยซูคริสต์ที่มาถึงท่าน พร้อมทั้งสัมฤทธิผลของการเป็ดเผยเหล่านั้น”1

หลังจากมาถึงมิสซูรี พวกเขาเริ่มเจรจากับเจ้าหน้าที่ของรัฐ แต่ความพยายาม แล้ไขปัญหาอย่างสันติวิธีก็ล้มเหลว เมื่อเห็นว่าการขัดแย้งจนถึงขั้นใช้อาวุธอาจ จะเถิดขึ้น ศาสดาจึงสวดล้อนวอนขอการน่าทาง และในวันที่ 22 มิถุนายน ค.ศ. 1834 ท่านไต้รับการเป็ดเผยใม้ยุบค่ายและประกาศว่าไบ่สามารถไถ่ไซอัน ไต้ในเวลานั้น (ดู ค.พ. 105) พระเจ้าตรัสเกี่ยวกับสมาชิกของค่ายดังนี้ “เรา ไต้ยินลำสวดล้อนวอนของเขาและจะยอมรับเครื่องถวายของเขา และเป็นการ สมควรในเราที่เขาจะน่ามาถึงเพียงนี้ เพื่อการทดลองศรัทธาของเขา” (ค.พ. 105:19)

ถึงแม้ค่ายไซกันจะไบ่บรรลุวัตถุประสงค์ทางการเมืองแต่ก็มีผลทางวิญญาณที่ ยาวนาน ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1835 เมื่อศาสดาจัดตั้งโควรัมอัครสาวกสิบ สองและโควรัมสาวกเจ็ดสิบ เล้าคนในอัครสาวกสิบสองและสาวกเจ็ดสิบทุก คนเคยรับใช้ในค่ายไซกัน โจเซฟ ยังค์หนึ่งในสมาชิกกลุ่มแรกของสาวกเจ็ดสิบ จำไต้ว่าศาสดาอธิบายกับกลุ่มพี่น้องชายเหล่านี้ว่า “พระผู้เป็นเจ้าไบ่ทรงต้องการ ให์ท่านต่อสู้ พระองค์คงไบ่สามารถจัดตั้งอาณาจักรของพระองค์โดยมีชายสิบสอง คนเป็ดประตูพระกิตติคุณสู่ประชาชาติของแผ่นดินโลก และมีชายอีกเจ็ดสิบคน ภายใต้การกำกับดูแลของพวกเขาท่าตามแนวทางของพวกเขา เว้นแต่พระองค์ จะทรงน่าพวกเขาออกจากคนกลุ่มหนึ่งผู้เคยพลีชีวิตของตนและท่าการเสียสละ อันยิ่งใหญ่เช่นเดียวกับอับราฮัม”2

ในค่ายไซกันนี้เองที่บริกับ ยิงค์ ฮีเบอร์ ซี. คิมบัลล์ วิลฟอร์ด วูดรัฟพี และ คนอื่นๆ ไต้รับการแกอบรมจนพวกเขาสามารถน่าสิทธิชนจากมิสซูรีไปอิสสินอยส์ในป็ ค.ศ. 1839 และไปหุบเขาซอลท์เลคในเวลาต่อมา จากประสบการณ์ ของพวกเขากับศาสดา พี่น้องชายเหล่านี้ได้เรียนรู้ที่จะนำในวิธีของพระเจ้า

คำสอนฃองโจเซฟ สมิธ

ผู้นำสอนหลักธรรมที่ถูกต้องและช่วยคนที่พวกเขา นำให้เรียนรู้ที่จะปกครองตนเอง

จอห์น เทย์เลอร์ ประธานคนทื่สามของศาสนาจักร รายงานว่า “หลายป็ก่อน ในนอวู ข้าพเจ้าได้ยินสุภาพบุรุษคนหนึ่งซึ่งเป็นสมาชิกสภานิติบัญญติถามโจเซฟ สมิธว่าท่านสามารถปกครองผู้คนมากมายและรักษาความเป็นระเบียบเรียบร้อย อย่างดีเยี่ยมนี้ได้อย่างไร โดยกล่าวว่าในเวลานั้นเป็นเรื่องสุดวิสัยที่จะทำเช่นนี้ได้ ไบ่ว่าจะอยู่ที่ใดก็ตาม คุณสมิธตอบว่าท่าง่ายมาก ‘ง่ายอย่างไรครับ’ สุภาพบุรุษ คนนั้นถาม ‘สำหรับเราแล้วมันยากมาก่ คุณสมิธตอบว่า ‘ผมสอนหลักธรรมที่ ถูกด้องแก่พวกเขาและให้พวกเขาปกครองตนเอง’ ”3

บริคัน ยังก์ ประธานคนที่สองของศาสนาจักร รายงานว่า “สุภาพบุรุษหลาย คนที่มาเห็นท่านและผู้คนของท่านถามโจเซฟ สมิธหลายครั้งว่า ‘เป็นไปได้อย่าง ไรที่คุณปกครองผู้คนของคุณได้ง่ายดายขนาดนี้ ดูเหมือนพวกเขาจะไบ่ทำอะไร นอกจากทำตามที่คุณบอก คุณทำอย่างไรหรือจึงปกครองพวกเขาได้ง่ายดายเช่น นี้’ ท่านตอบว่า ‘ผมไม่ได้ปกครองพวกเขาเลย พระเจ้าทรงเป็ดเผยหลักธรรม บางอย่างจากสวรรค์ซึ่งเราด้องดำเนินชีวิตตามนั้นในวันเวลาสุดห้ายนี้ เวลาใกล้ เข้ามาแล้วเมื่อพระเจ้าจะทรงรวมผู้คนของพระองค์ออกจากคนชั่ว และพระองค์ จะทรงร่นเวลางานของพระองค์ในความชอบธรรม ผมสอนหลักธรรมซึ่งพระองค์ ทรงเปิดเผยไว้แล้วและผู้คนพยายามดำเนินชีวิตตามหลักธรรมเหล่านั้น และ พวกเขาปกครองตนเอง’ ”4

ในการตอบสนองคำกล่าวหาทื่ว่าโจเซฟ สมิธกำลังแสวงทาอำนาจ ท่านกล่าว ว่า “เกี่ยวกับอำนาจซึ่งข้าพเจ้าบีอยู่เหนือความคิดของมนุษยชาตินั้น ข้าพเจ้า อยากบอกว่า นั่นเป็นเพราะผลของอำนาจแห่งความจริงในหลักคำสอนซึ่งข้าพเจ้าเป็นเครื่องมือในพระหัตถ์ของพระผู้เป็นเจ้าในการนำเสนอต่อพวกเขา ไม่ใช่ เพราะข้าพเจ้าบีบบังคับ … ข้าพเจ้าถามว่าข้าพเจ้าเคยบีบบังคับใครหรือ ข้าพเจ้าไบ่ได้ให้เสรีภาพแก่คนที่จะไบ่เชื่อหลักคำสอนซึ่งข้าพเจ้าสอนอย่างนั้นหรือ ล้าเขาเห็นว่าไบ่สมควรเชื่อ ทำไมศัตรูของข้าพเจ้าจึงไม่โจมดีหลักคำสอน พวก เขาโจมตีไบ่ได้ เพราะนี่คือความจริง และข้าพเจ้าขอท้ามนุษย์ทุกคนให้หักด้าง หลักคำสอนนี้”5

“พี่มัองชายคนหนึ่งที่ท้างานในสำนักงาน เซนต์หลุยส์ กาเซทท้ … ด้องการ รู้ว่าหลักธรรมใดท้าให้ข้าพเจ้ามีอำนาจมากขนาดนี้… ข้าพเจ้าบอกเขาว่าข้าพเจ้า ได้รับอำนาจมาจากหลักธรรมแห่งความจริงและคุณธรรม ซึ่งจะคงเหลืออยู่ เมื่อข้าพเจ้าตายจากไปแล้ว”6

ผู้นำได้รับป้ญญาที่พวกเขาต้องการจากพระวิญญาณและ แสดงความขอบคุณต่อพรที่พระเจ้าประทานให้พวกเขา

“คนของพระผู้เป็นเจ้าควรได้รับการประสาทพรด้วยปัญญา ความรู้ และความ เข้าใจเพี่อสอนและทำผู้คนของพระผู้เป็นเจ้า”7

โจเซฟ สมิธ เขียนถึงสมาชิกโควรัมอัครสาวกสิบสองและผู้นำฐานะปุโรหิต คนอื่นๆ ที่กำลังรับใช้งานเผยแผ่ในประเทศอังกฤษว่า “ข้าพเจ้าพูดได้ว่า เท้าที่ ข้าพเจ้ารู้จักความนุ่งหมายของพวกท่าน ข้าพเจ้าพอใจอย่างยิ่งที่ความนุ่งหมาย เหล่านั้นอยู่ในปัญญา ข้าพเจ้าไบ่มีความสงสัยเลยว่าพระวิญญาณของพระเจ้าทรง คำกับดูแลท่าน และสิ่งนี้ยืนยันต่อความคิดข้าพเจ้าว่าพวกท่านอ่อนท้อมถ่อมตน ความปรารถนาของพวกท่านมีเพี่อความรอดของเพื่อนมนุษย์ ไม่ใช่เพี่อขยาย อำนาจของตัวท่านเองและเพี่อผลประโยชน์อันเกิดจากความเห็นแก่ตัว ตราบใด ที่สิทธิชนแสดงให้เห็นนิสัยเช่นนั้น คำแนะนำของพวกเขาจะได้รับความเห็น ชอบ และความบากบั่นของพวกเขาจะได้รับความสำเร็จตอบแทน

“ท่านขอคำแนะนำเกี่ยวกับเรื่องสำคัญหลายเรื่อง แต่ข้าพเจ้าคิดว่าท่านจะ สามารถตัดสินใจได้อย่างตีเนี่องจากท่านคุ้นเคยอับสภาวการณ์พิเศษบางอย่างมาก กว่าข้าพเจ้า และข้าพเจ้าเชื่อบั่นอย่างยิ่งในปัญญาที่เป็นอันหนึ่งอันเดียวอันของ พวกท่าน …

“พี่ท้องที่รักทั้งหลาย ท่านด้องคำนึงถึงความรู้สึกของข้าพเจ้าห้าง เมื่อข้าพเจ้า ครุ่นคิดถึงงานอันยิ่งใหญ่ซึ่งเวลานี้คำลังหนุนไป และความสัมพันธ์ซึ่งข้าพเจ้า เห็นพัองด้วยขณะที่นํนคำลังขยายไปยังพื้นที่ห่างไกลและผู้คนหลายพันคนท้อม รับ ข้าพเจ้าตระหนักถึงความรับผิดชอบของข้าพเจ้าในระดับหนึ่ง และสิ่งที่ ข้าพเจ้าด้องการคือการสนับสนุนจากเบื้องบน ปัญญาจากเบื้องบน เพี่อข้าพเจ้า จะสามารถสอนหลักธรรมแห่งความชอบธรรมแก่คนเหล่านี้ซึ่งเวลานี้กลายเป็น ผู้คนที่ยิ่งใหญ่ และน่าพวกเขาตามความประสงค์ของสวรรค์ ทั้งนี้เพื่อพวกเขา จะดีรอบคอบและพร้อมพบพระเจ้าพระเยซูคริสต์เมื่อพระองค์จะทรงปรากฎใน รัศมีภาพอันยิ่งใหญ่ ข้าพเจ้าจะพึ่งคำสวดอ้อนวอนของท่านถึงพระบิดาบนสวรรค์ ของเราเพื่อข้าพเจ้า และพึ่งคำสวดอ้อนวอนทั้งหมดของพี่ฟ้องชายหญิงทุก คนในอังกฤษ (ซึ่งข้าพเจ้าไบ่เคยพบแต่ข้าพเจ้าก็รักพวกเขา) ได้หรือไบ่ เพื่อ ข้าพเจ้าจะสามารถหมีพ้นกลอุบายทุกอย่างของซาตาน เอาชนะความยากลำบาก ทั้งหลาย และท่าให้คนเหล่านี้มีความสุขกับพรเหล่านั้นซึ่งสงวนไอ้ลำหรับคน ชอบธรรม ข้าพเจ้าถามท่านในพระนามของพระเจ้าพระเยซูคริสต์”8

คริสต์ศักราช 1833 ศาสดาและผู้นำศาสนาจักรคนอื่นๆ เขียนบอกสมาชิกใน เมืองธอมพ์สัน รัฐโอไฮโอว่าบราเดอร์แซลมอน กี ได้รับแต่งตั้งให้ดูแลพวกเขา “บราเดอร์ซัสมอนผู้เป็นที่รักของเรา … ได้รับการวางมือแต่งตั้งจากเรา … ให้นำพวกท่านและสอนสิ่งซึ่งสอดคอ้องกับความเป็นเหมือนพระผู้เป็นเจ้าผู้ซึ่ง เรามีความเชื่อมั่นอย่างมากในพระองค์ ดังที่เราหวังว่าท่านจะมีด้วยเช่นกัน ด้วย เหตุนี้เราจึงกล่าวกับท่าน—แห้จริงแอ้ว ไม่ใช่เราเท่านั้น แต่พระเจ้าด้วย—ท่าน จงยอมรับเขาโดยรู้ว่าพระเจ้าทรงแต่งตั้งเขาสู่ตำแหน่งนี้เพื่อประโยชน์ของท่าน โดยสนับสนุนเขาในคำสวดอ้อนวอนของท่าน สวดอ้อนวอนให้เขาอย่าได้ขาด เพื่อเขาจะได้รับประสาทพรด้วยปัญญาและความเข้าใจในความรู้ถึงพระเจ้า และ โดยผ่านเขาท่านจะรอดพ้นจากวิญญาณชั่วร้าย การทะเลาะวิวาทและการพิพาท ทุกอย่าง และเติบโตในพระคุณและในความรู้ถึงพระเจ้าและพระผู้ช่วยให้รอด ของเรา พระเยซูคริสต์

“…สุดท้าย พี่น้องทั้งหลาย จงสวดอ้อนวอนให้เราเพื่อเราจะสามารถทำงาน ที่เราได้รับเรียก เพื่อท่านจะได้ชื่นชมความลี้กับของพระผู้เป็นเจ้า แห้ความ บริบูรณ์”9

ศาสดาให้คำแนะนำต่อไปนี้แก่กลุ่มผู้นำฐานะปุโรหิตเพื่อนำทางพวกเขาใน การสนทนา “ทุกคนควรพูดทีละคน ตามลำดับของเขา ในเวลาและวาระของ เขา เพื่อจะได้มีระเบียบอันสมบูรณ์ในทุกสิ่ง และ …มนุษย์ทุกคน…ควร แน่ใจว่าเขาสามารถให้ความกระจ่างในเรื่องนั้นได้ไบ่ใช่ความคลุมเครือ…ซึ่ง จะทำได้เมื่อมนุษย์ทุ่มเทสติปัญญาศึกษาพระดำริและพระประสงค์ของพระเจ้า ซึ่งพระวิญญาณของพระองค์นักจะทำให้ความจริงปรากฎและประจักษ์ชัดต่อ ความเข้าใจของทุกคนที่มีพระวิญญาณ”10

“เมื่ออัครสาวกสิบสองหรือพยานท่านอื่นๆ ยืนต่อหน้าที่ประชุมของแผ่นดิน โลก และสอนด้วยอำนาจและแสนยานุภาพแห่งพระวิญญาณของพระผู้เป็นเจ้า ผู้คนต่างตะลึงงันและงุนงงอับหลักคำสอน และพูดว่า ‘ชายคนนั้นแสดงปาฐกถา ที่เป็ยมด้วยพลัง คำเทศนาที่ยอดเยี่ยบ่ ขอให้คนนั้นหรือคนเหล่านั้นอย่ายก กวามดีความชอบให้ตน แต่จงอ่อนน้อมถ่อมตน และยกคำสรรเสริญและความ ดีความชอบให้พระผู้เป็นเจ้าและพระเมษโปดก เพราะโดยอำนาจของฐานะปุโรหิตศักดี้สิทธี้และพระวิญญาณบริสุทธี้พวกเขาจึงมีอำนาจที่จะพูด โอ้มนุษย์ ท่านทั้งหลายเป็นอะไรเล่านอกจากผงธุลี ท่านได้รับอำนาจและพรจากใครหรือ อ้าไม่ใช่จากพระผู้เป็นเจ้า”11

ผู้นำในอาณาจักรของพระเจ้ารักคนที่พวกเขารับใช้

“เมื่อข้าพเจ้าอายุมากขึ้น ใจข้าพเจ้าเป็นห่วงท่านมากขึ้น ข้าพเจ้ายอมทิ้ง ทุกอย่างที่ไม่ถูกด้องทุกเมื่อ เพราะข้าพเจ้าปรารถนาให้คนเหล่านี้มีผู้นำที่เที่ยงธรรม ข้าพเจ้าท่าให้ความคิดท่านตั้งมั่นอยู่ในเสรีภาพโดยท่าให้ท่านรู้เรื่องของ พระเยซูคริสต์ … ข้าพเจ้าไบ่มีอะไรในใจนอกจากความรู้สึกดีๆ”12

“นักบวชของนิกายต่างๆ พากันร้องทุกข์เกี่ยวอับข้าพเจ้า และถามว่า ‘เหตุ ใดคนพูดจาไร้สาระเช่นนื้จงมีผู้ติดตามมากมาย และรักษาพวกเขาไอ้ได้’ ข้าพเจ้า ตอบว่าเพราะข้าพเจ้ามีหลักธรรมแห่งความรัก ทั้งหมดที่ข้าพเจ้าจะมอบให้โลก ได้ก็คือใจซื่อและมือสะอาด”13

ไม่กี่วันก่อนที่ศาสดาจะไปยังคุกคาร์เทจ ท่านแสดงความรักของท่านต่อสิทธิชนดังนี้ “พระผู้เป็นเจ้าทรงทดสอบท่าน ท่านเป็นคนดี ด้วยเหตุนี้ข้าพเจ้าจึง รักท่านสุดหัวใจ ไม่มีใครมีความรักยิ่งใหญ่กว่าคนที่ยอมสละชีวิตของเขาเพื่อ มิตรสหายของเขา [ดู ยอห์น 15:13] ท่านยืนเคียงข้างข้าพเจ้าในโมงแห่งความ ยากลำบาก และข้าพเจ้ายินดีสละชีวิตของข้าพเจ้าเพื่อรักษาชีวิตท่านไอ้”14

ผู้นำในอาณาจักรของพระเจ้าสอนผ่านการรับใช้และ แบบอย่างของพวกเขา

ขฌะที่สมาชิกของก่ายไซอันเดินทัพจากเคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ ไปมิสซูรี พวก เขาเรียนรู้หลักการเป็นผู้นำมากมายจากการคบหาทับโจเซฟ สมิธ จอร์จ เอ. สมิธ สมาชิกก่ายไซอัน เก่าว่า “ศาสดาใจเซฟ สมิธ เหน็ดเหมื่อยเมื่อยอ้าพอๆ กับ ทุกคนตลอดการเดินทาง นอกจากจะดูแลเรื่องการเตรียมค่ายและควบคุมค่าย แล้ว ท่านต้องเดินเกือบตลอดเวลาทำให้เท้าของท่านพุพอง มีเลือดออก และ ปวดแสบปวดร้อน ซึ่งเป็นเรื่องปกติของการเดินวันละ 40 ถึง 65 กิโลเมตรใน ฤดูร้อนของป็ แต่ตลอดการเดินทางท่านไบ่เคยบ่นหรือโอดครวญ ขณะที่คนส่วน ใหญ่ในค่ายบ่นกับท่านเรื่องนิ้วเท้าที่ปวดแสบปวดร้อน เท้าพุพอง การเดินทาง ระยะไกล เสบียงอาหารร่อยหรอ ขนมปังคุณภาพตา ขนมปังข้าวโพดบูด เนย ขึ้นรา นิ้าผึ้งรสชาติแปลกๆ หนอนขึ้นเบคอนกับชีส ฯลฯ กระทั่งสุนัขเห่าใส่กื ยังมีบางคนไปบ่นกับใจเซฟ ล้าพวกเขาต้องพักแรมและนิ้าไบ่สะอาด แทบจะ เกิดการจลาจลไต้เลย แต่เราคือค่ายไซกัน เราหลายคนไบ่ไต้สวดล้อนวอน สิ้น คิด สะเพร่า ไบ่เอาใจใส่ โง่เขลา หรือเหมือนป็ศาจร้าย แต่เราไบ่รู้ตัว ใจเซฟ ต้องอดทนกับเราและสอนเราเหมือนเด็ก อย่างโรกืดี มีหลายคนในค่ายที่ไบ่เคย โอดครวญผู้พร้อมเสมอและยินดีท่าตามที่ผู้นัาของเราต้องการ”15

ต่อไปนี้เป็นข้อความที่คัดมาจากประวัติของศาสดาสำหรับเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1834 “ทุกคืนค่อนเข้านอน เมื่อเสียงแตรตัง เราจะล้มศีรษะต่อพระเจ้าใน เต็นท์ของเราและสวดล้อนวอนขอบพระนัยพระองค์ และเมื่อไต้ยินเสียงแตร ตอนเช้ามืด ประมาณตีสี่ ทุกคนจะคุกเข่าต่อพระพักตร์พระเจ้าอีกครั้งเพื่อวิงวอน ขอพรสำหรับวันนั้น”16

วันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ 1834 “ทั้งที่ศัตรูของเราพูดข่มขู่ตลอดเวลาว่าจะ ทำร้ายเรา แต่เราไบ่กลัวและไบ่ลังเลที่จะเดินทางต่อ เพราะพระผู้เป็นเจ้าทรงอยู่ ลับเรา เทพของพระองค์อยู่ช้างหน้าเรา ศรัทธาของกลุ่มเล็กๆ ของเราไบ่หวั่น ไหว เรารู้ว่าเหล่าเทพเป็นเพื่อนร่วมทางของเรา เพราะเราเห็นพวกท่าน”17

วันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1834 “ช้าพเจ้าพบว่ามืบางคนในคณะของข้าพเจ้าได้ขนมปังบูด ส่วนข้าพเจ้าได้ขนมปังหวานรสชาติดีจากพ่อครัวคนเดียวลัน ข้าพเจ้าตำหนิบราเดอร์เซเบดี โคลทรินสำหรับความสำเอียงของเขา เพราะข้าพเจ้าด้องการใน้พื่น้องชายได้เท่าๆ กับข้าพเจ้า”18

จอห์น เอม. ชิเดสเตอร์ สมาชิกค่ายไซอันเล่าว่า “ขณะเดินผ่านรัฐอินเดียนา ค่ายไซอันด้องข้ามหนองนั้าเน่าเสียหลายแห่ง ด้วยเหตุนี้เราจึงด้องผูกเชือกติด ลับรถน้าเพื่อช่วยให้มันข้ามผ่านไปได้ ศาสดาเป็นคนแรกที่เดินเท่าเปล่าไปผูกเชือก นี่เป็นคุณลักษณะของท่านตลอดช่วงเวลาแห่งความยากสำบาก

“เราเดินทางร่วมสี่สิบกิโลเมตรโดยไบ่หยุดพักหรือรับประทานอาหารจนมา ถึงแม่นั้า [วาเคนดา] เราจำเป็นด้องข้ามฟากและพบว่าฝังตรงข้ามมืที่หนึ่ง เหมาะแก่การตั้งค่ายซึ่งเป็นแหล่งความพอใจของคนที่เหนื่อยท่าและหิวโหย เมื่อไปถึงสถานที่ดังกล่าวศาสดาประกาศลับคนในค่ายว่าท่านรู้สึกว่าด้องเดินทาง ต่อ ท่านเดินนำและชวนให้พื่น้องชายเดินตาม

“นี่ทำให้เกิดความแตกแยกในค่าย ตอนแรกไลมัน ไวท์ลับคนอื่นๆ ไบ่ยอม เดินตามศาสดา แต่สุดท่ายก็ตามทัน ผลที่เกิดขึ้นหลังจากนั้นแสดงให้เห็นว่า ศาสดาได้รับการดลใจให้เดินต่ออีกประมาณ 11 กิโลเมตร เราได้รับรายงาน หลังจากนั้นว่าห่างจากจุดที่เราข้ามแบ่นั้าลงไปทางได้ประมาณ 13 กิโลเมตรมืคน กลุ่มหนึ่งคิดจะโจมดีเราในคืนนั้น”19

ระหว่างการเดินทัพของค่ายไซอัน สมาชิกค่ายบางคนปนและโอดครวญ ศาสดาลงโทษคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องและเตือนว่าความหายนะจะเกิดขึ้นถ้าพวก เขาไม่กลับใจ แม้บางคนจะฟืงค่าแนะนำแต่ทลายคนไม่ฟืง ไม่นานอหิวาตกโรค ก็แพร่ระบาด สมาชิกค่ายบางคนเสียชีวิต ออร์สัน ไฮด์ซึ่งต่อมารับใช้ในโควรัม อัครสาวกสิบสองเล่าว่า “ศาสดาเลิกเป็นห่วงความผาสุกของคนในค่ายหรือไบ่ ท่านรู้สึกเหินห่างจากเพื่อนๆ ของท่านในช่วงเวลาของการดีสอนและความยาก ลำบากหรือไบ่ ท่านกลายเป็นศัตรูกับพวกเขาเพราะท่านพูดรุนแรงกับพวกเขา หรือไบ่ ไม่เลย! ความเห็นอกเห็นใจท่าให้ท่านใจอ่อน—ใจท่านเต็มไปด้วยความ รัก ความสงสาร และความเมตตา ความกระตือรือร้นและความซื่อสัตย์จนท่าน กลายเป็นเพื่อนที่จงรักภักดีในยามมีกัย ท่านปรนนิมัติดูแลคนป่วยและคนที่ใกล้ จะเสียชีวิตด้วยตัวเอง และช่วยฝังศพผู้เสียชีวิต ทุกอย่างที่ท่านท่าระหว่าง การทดลองหนักหนาสาหัสท่าให้คนในค่ายมีความมั่นใจมากขึ้นว่า แห้พวกเขา จะทำความผิด แต่ท่านยังรักพวกเขาอยู่”20

ข้้อเลนอแนะสำหรับศึกษาและสอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะศึกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมได้ที่หน้า ⅶ–ⅹⅱ

  • อ่านย่อหห้าแรกในหห้า 307 ท่านเห็นข้อดีอะไรห้างในการเป็นผู้นัาของศาสดาโจเซฟ สมิธ ท่านคิดว่าคนส่วนใหญ่ตอบสนองการเป็นผู้นัาเช่นนั้นอย่างไร

  • อ่านทวนลำสอนของศาสดาเกี่ยวกับความจำเป็นที่ผู้นัาด้องได้รับป้ญญาจาก พระวิญญาณ (หห้า 308–310) อะไรช่วยให้ผู้นัาได้รับปัญญาที่เขาด้องการ

  • อ่านทวนย่อหน้าที่สามในหห้า 308 เหตุใดความอ่อนห้อมถ่อมตนและความ ไบ่เห็นแก่ตัวจึงเป็นคุณลักษณะที่ผู้นัาจะขาดไม่ได้ ท่านคิดว่าผู้นัาควรมีคุณลักษณะอะไรอีกห้าง

  • โจเซฟ สมิธพูดอย่างเป็ดเผยถึงความรักและความรู้สึกห่วงใยสิทธิชน (หห้า 310) ท่านรู้ได้อย่างไรว่าผู้นัารักท่านจริงๆ เมื่อใดที่ท่านเคยได้รับพรผ่านความ รักของผู้นัา

  • ศึกษารายงานของค่ายไซอันในหห้า 305–307 และหห้า 310–313 ศาสดา แสดงให้เห็นคุณสมบัติอะไรห้างของการเป็นผู้นัา

  • ลองนึกถึงความรับผิดชอบการเป็นผู้นำของท่านในครอบครัว ศาสนาจักร งานอาชีพ โรงเรียน ชุมชน หรือที่อื่นๆ พิจารณาว่าท่านท่าจะอะไรได้ห้าง เพื่อดำเนินตามแบบอย่างของโจเซฟ สมิธ

ข้อพระคัมภีร์พี่กี่ยวข้อง: อพยพ 18:13–26; สุภาษิต 29:2; นัทธิว 20:25–28; แอสมา 1:26; ค.พ. 107:99–100

อ้างอิง

  1. Wilford Woodruff, Deseret News: Semi-Weekly, 21 ธันวาคม 1869 หน้า 1; ปรับเปลี่ยนตัวสะกดให้ทัน สมัย

  2. อ้างอิงโดยใจเซฟ ยังก์ ซีเนียร์ ใน History of the Church, 2:182 เชิงอรรถ; จากใจเซฟ ยังก์ ซีเนียร์ History of the Organization of the Seventies (1878) หน้า 14

  3. John Taylor “The Organization of the Church” Millennial Star,15 พฤศจิกายน 1851 หน้า 339

  4. Brigham Yong, Deseret News: Semi-Weekly 7 มิถุนายน 1870 หน้า 3

  5. History of the Church 6:273; จาก คำปราศรัยของใจเซฟ สมิธ เมื่อวันที่ 24 มีนาคม 1844 ในนอวู อิลลินอยส์ รายงานโดยวิลฟอร์ด วูดรัฟฟ็

  6. History of the Church 6:343; จาก ข้อมูลมันทึกส่วนตัวของใจเซฟ สมิธ วันที่ 25 เมษายน 1844 นอวู อิลลินอยส์

  7. History of the Church 5:426; จาก คำปราศรัยของใจเซฟ สมิธ เมื่อวันที่ 11 มิถุนายน 1843 ในนอวู อิลลินอยส์ รายงานโดยวิลฟอร์ด วูดรัฟฟ้และวิล ลารด ริชารดสํ

  8. History of the Church, 4:228–230; ปรับเปลี่ยนตัวสะกดและเครื่องหมาย วรรคตอนให้ทันสมัย; จากจดหมายที่ ใจเซฟ สมิธ เขียนถึงอัครสาวกสิบสอง 15 ธันวาคม 1840 นอวู อิลลินอยส์ จัดพิมฟ้ไน Times and Seasons 1 มกราคม 1841 หน้า 259–260; จดหมายฉบับนี้ลงวันที่ไวัใน History of the Church เป็น 19 ต.ค. 1840 ซึ่ง ไบ่ถูกต้อง

  9. จดหมายที่โจเซฟ สมิธ และคนอื่นๆ เขียนถึงสมาชิกศาสนาจักรในธอมพ์สัน โอไฮโอ 6 ก.พ. 1833 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ; Letter Book 1,1829–1835 หน้า 25–26 Joseph Smith Collection หอจดหมายเหตุของศาสนาจักร ของพระเยซูคริสต์แห่งสิทธิชนยุคสุดท้าย ซอลท้เลคซิตี้ ยูทาห้

  10. History of the Church 2:370; จาก ข้อมูลมันทึกส่วนตัวของใจเซฟ สมิธ 15 ม.ค. 1836 เคิร์ทแลนด์ โอไฮโอ

  11. History of the Church 3:384; จาก คำปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อ 2 ก.ค. 1839 ในมอนโทรส ไอโอวา; รายงาน โดยวิลฟอร์ด วูดรัฟฟ้และวิลลาร์ด ริชาร์ดส์

  12. History of the Church 6:412; จาก คำปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อ 26 พ.ค. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย โธมัส มัลลอคส์

  13. History of the Church 5:498; จาก คำปราศรัยของใจเซฟ สมิธเมื่อ 9 ก.ค. 1843 ในนอวู อิลลินอยส์; รายงานโดย วิลลาร์ด ริชาร์ดส์ ดู ภาคผนวกหน้า 604 ท้ัวข้อ 3 ด้วย

  14. History of the Church 6:500; จาก คำปราศรัยของโจเซฟ สมิธเมื่อ 18 มิ.ย. 1844 ในนอวู อิลลินอยส์ ผู้ รวบรวม History of the Church รวบรวมจากปากคำของพยานหลายคน เป็นบันทึกฉบับเดียวของคำปราศรัยนี้

  15. George A. Smith, “History of George Albert Smith by Himself,” หน้า 30 George Albert Smith, Papers, 1834–1875 หอจดหมายเหตุ ของศาสนาจักร

  16. History of the Church 2:64–65; จาก 1 เบอร์ ซี. คิมบัลส์ “Elder Kimball’s Journal,” Times and Seasons 15 ม.ค. 1845 หน้า 771

  17. History of the Church 2:73; จาก ฮีเบอร์ ซี. คิมบัลส์ “Elder Kimball’s Journal” Times and Seasons 15 ม.ค. 1845 หน้า 772

  18. History of the Church 2:75; จาก George A. Smith “History of George Albert Smith by Himself” หน้า 17 George Albert Smith, Papers, 1834–1875 หอจดหมายเหตุ ของศาสนาจักร

  19. John M. Chidester ใน “Recollections of the Prophet Joseph Smith,” Juvenile Instructor, 1 มี.ค. 1892 หน้า 151; เปลี่ยนเครื่องหมาย วรรคตอนให้ทันสมัย

  20. Orson Hyde, Deseret News, 30 ก.ค. 1853 หน้า 66

council meeting

ผู้นำในอาฌาจักรของพระเจ้า “ควรได้รับประสาพพรด้วยป็ญญา ความรู และความเขาใจเพื่อสอนและนำผู้คนของพระผู้ป็นเจ้า”

men pulling wagon

“ศาสดาเป็นคนแรกที่เดินเท้าเปล่าไปผูกเชือก” สมาชิกคนหนึ่งไนค่ายไซอันจำไท้ “นี่เป็นคุฌอักมฌะของท่านตลอดช่วงเวลาแห่งความยากลำบาก”