บทที่ 24
การสอนครอบครัว
“ขอให้เราดำรงชีวิตเพื่อวิญญาณแห่งศาสนาจะอยู่ภายในเรา แล้วเราจะมีสันติ ความปีติ ยินดี ความสุขและความพอใจ ซึ่งก่อให้เกิดบิดาที่ถูกใจ มารดาที่ถูกใจ ลูกๆ ที่ถูกใจ ครอบครัว เพื่อนบ้าน ชุมชนและเมืองที่ถูกใจ ซึ่งคุ้มค่าต่อการดำรงชีวิต และข้าพเจ้าคิด ว่าสิทธิชนยุคสุดท้ายควรพยายามมุ่งมั่นเพื่อให้ได้สิ่งนี้” (DBY, 204)
คำสอนของบริคัม ยัง
ครอบครัวเป็นสถาบันที่พระผู้เป็นเจ้าทรงจัดตั้งขึ้นในกาลเวลาและนิรันดร
หากทุกคนที่อ้างว่าเป็นสิทธิชนยุคสุดท้ายเป็นสิทธิชนจริงๆ บ้านของเราควรเป็นสวรรค์ ไม่ควรจะไอ้ยิน รู้สึก หรือเข้าใจสิ่งใดนอกเหนือจากการสรรเสริญพระนามพระผู้เป็นเจ้าของ เราทำหน้าที่ของเรา และรักษาพระบัญญัติของพระองค์ (DBY, 203)
เมื่อชายและหญิงไอ้รับเอ็นดาวเมนท์และการผนึกของเขา [ในพระวิหารสำหรับความเป็น นิรันดร] และจากนั้นมีลูกที่เกิดจากพวกเขา เด็กๆ เหล่านั้นเป็นทายาทที่ถูกต้องตามกฎของ อาณาจักร ของพรและสัญญาของอาณาจักรนั้น พวกเขาเป็นเพียงคนกลุ่มเดียวที่เป็น [ทายาทตามกฎ] บนแผ่นดินโลกนี้ (DBY, 195)
พิธีการผนึกจะต้องไอ้รับการประกอบที่นี่… ผู้หญิงกับผู้ชาย ลูกๆ กับบิดามารดาของพวก เขา ฯลฯ จนกระทั่งโซ่แห่งชั่วอายุคนจะถูกต่ออย่างสมบูรณ์ในพิธีการผนึกจนกลับไปถึงปิตุ อาดัม ดังนั้น เราจึงไอ้รับบัญชาให้อยู่รวมกัน เพื่อจะออกมาจากแบบิลอน ชำระตัวให้บริสุทธิ์ และเสริมสร้างไชอันของพระผู้เป็นเจ้าของเรา…จนกระทั่งแผ่นดินโลกถูกชำระให้บริสุทธิ์และ เตรียมไว้สำหรับการประทับอยู่ของพระผู้เป็นเจ้าและเหล่าเทพ (DBY, 407)
บิดามารดาควรสอนลูกๆ ให้รักษาพระบัญญัติของพระผู้เป็นเจ้า
เราเห็นเด็กทารกในอ้อมแขนของมารดา เด็กทารกคนนี้อยู่ที่นี่เพื่ออะไร? อะไรคือจุด ประสงค์ในการสร้างเด็กทารกน้อยผู้นี้?…ท่านเห็นรากฐานนี้จุดเริ่มต้น เมล็ดแห่งความรู้แจ้ง ที่ก่อร่างขึ้นในเด็กทารกผู้นี้ ถูกกำหนดให้เติบโตและพัฒนาเป็นชาย [หรือหญิง] จากนั้นก็ เติบโตหรือพัฒนาขึ้นสู่ความสามารถของเทพ และมุ่งสู่ความสูงส่งนิรันดร แต่ชีวิตมตะเป็น รากฐาน…เป็นสถานที่แห่งแรกที่เราเรียนรู้ นี่คือการเริ่มต้นของความก้าวหน้านิรันดรของเรา (DBY, 205–6)
ข้าพเจ้าคิดและพูดอยู่บ่อยๆ ว่า “จำเป็นแค่ไหนลำหรับมารดา ผู้เป็นครูคนแรกของลูก และเป็นผู้สร้างรอยประทับใจครั้งแรกบนความคิดของลูกให้ทำหรือพูดแต่สิ่งที่ถูกต้อง” ต้อง ระวังแค่ไหนที่จะไม่ปลูกฝังความคิดที่ผิดๆ ให้กับลูก! เขาไม่ควรลอนสิ่งใดเว้นแต่สี่งที่รู้ว่าถูก ต้องในทุกด้าน เขาไม่ควรใช้คำพุดที่ไม่เหมาะลม โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อพูดให้เด็กๆ ได้ยิน (DBY, 206–7)
ขอให้มารดาเริ่มต้นลอนลูกๆ ของเธอตั้งแต่อายุยังน้อย ลอนให้เขารักพระเจ้าและรักษา พระบัญญัติของพระองค์ (DBY, 206)
หากท่านผู้เป็นมารดาจะดำเนินชีวิตตามศาลนาของท่าน และลอนลูกๆ อยู่เสมอให้รัก และเกรงกลัวพระผ้เป็นเจ้าลอนถึงหนทางแห่งชีวิตและความรอด ฝึกฝนเขาในทางที่เขาควร ไป เมื่อมีอายุมากขนเขาจะไม่พรากจากทางนั้น [ดู สุภาษิต 22:6] ข้าพเจ้าสัญญากับท่าน ว่าสิ่งนี้เป็นจริงดังดวงอาทิตย์ที่ฉายแสง เป็นความจริงนิรันดร ในหน้าที่นี้เราต้องไม่ลืม (DBY, 206)
อบรมลูกๆ ให้รักและเกรงกลัวพระเจ้า ศึกษาอุปนิสัยใจคอตลอดจนอารมณ์ของพากเขา ปฏิบัติต่อพากเขาตามนั้น อย่าลืมตัวและลงโทษพากเขาเมื่อท่านกำลังโกรธ ลอนเขาให้รัก ท่านแทนที่จะกลัวท่าน และขอให้ท่านใส่ใจเสมอว่าลูกๆ ที่พระผู้เป็นเจ้าทรงเมตตาประทาน ให้ท่าน จะต้องได้รับการอบรมสั่งลอนตั้งแต่เยาวายถึงความสำคัญของการเปิดเผยจากพระ ผู้เป็นเจ้าและความงดงามของหลักธรรมแห่งศาลนาอันศักดิ์สิทธิ์ของเรา เพื่อว่าเมื่อพากเขา เติบโตถึงวัยหนุ่มลาว พวกเขาจะรู้สึกชื่นชอบสิ่งนั้นและไม่ละทิ้งความจริง (DBY, 207)
บิดามารดา ลอนลูกๆ ด้ายการอบรมสั่งลอนและเป็นตัวอย่างให้เห็นถึงความสำคัญของ การลาดอ้อนวอนต่อพระผู้เป็นเจ้า ลอนเขาถึงวิธีดำเนินชีวิต ลอนวิธีที่จะดึงปัจจัยในการ ดำรงชีวิตจากดิน นํ้า ลม ไฟที่มีอยู่ในโลก และลอนกฎแห่งชีวิตเพื่อพากเขาจะรู้วิธีรักษา สุขภาพของตนเอง และลามารถปฏิบัติต่อผู้อื่นได้ เมื่อแนะนำเขาถึงหลักธรรมของพระ กิตติคุณ จงลอนเขาว่าหลักธรรมเหล่านั้นจริง เป็นความจริงถูกส่งมาจากสวรรค์ เพื่อความ รอดของเรา และพระกิตติคุณรวมเอาความจริงทุกอย่างไว้ทั้งที่มีอยู่ในสวรรค์ ในแผ่นดินโลก และในนรก จงลอนพากเขาด้ายว่าศาลนาจักรถือกุญแจแห่งชีวิตนิรันดร และพากเขาต้อง เชื่อฟังและปฏิบัติพิธีการและกฎที่เกี่ยาข้องกับฐานะปุโรหิตอันศักดิสิทธิ์นี้ ซึ่งพระผู้เป็นเจ้า ทรงเปิดเผยและฟึ้นฟูเพื่อความสูงส่งของลูกหลานมนุษย์ (DBY, 207)
หากเราไม่พยายามฝึกอบรมลูกๆ ของเรา ลอน และแนะนำพากเขาเกี่ยวกับความจริงที่ ได้รับการเปิดเผยเหล่านี้ การกล่าวโทษจะตกอยู่บนเราในฐานะบิดามารดา หรืออย่างน้อย ที่สุดก็ในส่วนที่เราต้องรับผิดชอบ (DBY, 207)
ขณะที่บิดามารดานำโดยตัวอย่างที่เหมาะสม เขาได้ช่วยจัดวาง วิถีที่ชอบธรรมแก’ครอบครัวของเขา
อย่าปล่อยให้ตัวเองสอนลูกๆ อย่างหนึ่ง และปฏิบัติอีกอย่างหนึ่ง (DBY, 206)
อย่าปล่อย ให้ตนเองทำสิ่งที่เราไม่อยากเห็นลูกๆ ของเราทำ เราควรเป็นแบบอย่างตามที่ เราปรารถนาจะให้เขาเลียนแบบ เราตระหนักถึงสิ่งนี้หรือไม่? บ่อยครั้งเพียงใดที่เราเห็นบิดา มารดาต้องการให้ลูกๆ เชื่อฟัง มีความประพฤติที่ดี พูดจาอ่อนโยน มีลีหน้าที่เบิกบาน นํ้าเลียงที่ไพเราะ และแววตาที่สดใส ขณะที่ตัวเขาเองเต็มไปด้วยความระทมทุกข์และการ ดุด่าว่ากล่าว! ช่างตรงกันข้ามและไม่มีเหตุผลเอาเลียเลย! (DBY, 208)
หากบิดามารดาเป็นตัวอย่างที่ดีพอจนลูกๆ ลามารถเลียนแบบได้อย่างต่อเนื่อง และเป็น ที่ยอมรับของพระบิดาบนสวรรค์ของเรา เขาจะเปลี่ยนแปลงความรู้สึกของเด็กๆ และในที่สุด เด็กๆ จะปรารถนาความชอบธรรมมากกว่าความชั่วร้าย (DBY, 208)
ขอให้บิดาและมารดาผู้เป็นสมาชิกของศาลนาจักรและอาณาจักรแห่งนี้ดำเนินไปในวิถีที่ ชอบธรรม และพยายามอย่างสุดกำลังที่จะไม่ทำผิดเลย แต่ทำสิ่งที่ดีตลอดชีวิต หากเขามีลูก หนึ่งคนหรือหนึ่งร้อยคน หากพวกเขาประพฤติตนต่อหน้าลูกๆ ของเขาตังที่ควร พันผูกลูกๆ ไว้กับพระเจ้าโดยศรัทธาและการลวดอ้อนวอน ข้าพเจ้าไม่ห่วงเลยว่าเด็กๆ เหล่านั้น จะไป ในทิศทางใด พวกเขาจะผูกพันกับบิดามารดาของเขาด้วยพันธะอันเป็นนิจ และไม่มีอำนาจ ใดในโลกนี้ หรือในนรกจะแยกพวกเขาออกจากบิดามารดาได้ในนิรันดร พวกเขาจะกลับคืน สู่แหล่งกำเนิดอีกครั้ง (DBY, 208)
ลูกๆ ของเราจะรักความจริง หากเราเพียงแต่ดำเนินชีวิตตามศาลนาของเรา บิดามารดา ควรทำตามวิธีนั้นเพื่อลูกๆ จะพูดได้ว่า “หนูรู้ว่าพ่อของหนูไม่เคยหลอกหรือเอาเปรียบเพื่อน บ้าน หนูรู้ว่าพ่อของหนูไม่เคยเอาสิ่งซึ่งไม่ใช่ของท่านมาเป็นของตัว ไม่เคย ไม่เคยเลย! ไม่เลย และเขาจะพูดว่า “ลูกชาย หรือลูกลาว จงชื่อสัตย์ ชื่อตรง มีคุณธรรม เมตตา อุตสาหะ มัธยัสถ์ และเต็มไปด้วยงานดี” คำสอนตังกล่าวจากบิดามารดาจะอยู่กับลูกๆ ตลอดกาล เว้นแต่เขาจะทำบาปต่อด้านพระวิญญาณบริสุทธิ์ (DBY, 209)
เราลามารถนำทาง ชี้แนะ และตัดเล็มกิ่งอ่อน และมันจะเติบโตไปในทิศทางที่เราต้อง การ หากเราทำอย่างฉลาดและประยุกต์ใช้อย่างชำนาญ ด้วยเหตุนี้ หากเราสร้างสภาพแวดล้อมให้เด็กด้วยอิทธิพลที่ดีและเป็นประโยชน์ ให้คำแนะนำที่เหมาะลมและสั่งลมประเพณี ที่แท้จริงเข้าไปในความคิดของเขา บางทีสิ่งนี้อาจจะนำพวกเขาไปในทางแห่งชีวิต (DBY, 209)
การควบคุมอารมณ์ตนเองและวินัยที่เกิดจากความเมตตา จะช่วยสร้างครอบครัวให้แข็งแกร่ง
เพื่อให้ได้มาซึ่งการควบคุมทางวิญญาณเหนือตัวเราเอง และเหนืออิทธิพลที่อยู่ล้อมรอบ ตัวเรา โดยการมีวินัยที่เฉียบขาดในตัวเอง เป็นสิ่งแรกที่เราควรคิดถึง นี่คืองานแรกของเรา ก่อนที่เราจะลามารถชี้ทางให้กับลูกๆ เพื่อให้เขาเติบโตไปสู่ความรอดโดยไม่มีบาป (DBY, 203)
ท่านรับปากอะไรกับลูกลาวหากเธอทำสิ่งหนึ่ง? ท่านรับปากว่าจะให้ของขวัญเธอหรือไม่หากเธอทำได้อย่างดี? “แน่นอน” ท่านจำที่รับปากไว้ได้หรือเปล่า? “ไม่ได้ ลืมไปแล้ว” มารดากล่าว หากลูกลาวทำไม่ดีท่านรับปากว่าจะลงโทษเธอหรือไม่? “แน่นอน” ท่านทำตาม ที่พูดหรือไม่? ท่านไม่ได้ทำและลูกๆ ก็จะตั้งข้อสรุปในใจของเขาในทันใดนั้นว่ามารดาพูดไม่จริง—เธอบอกว่าจะทำอย่างนี้หรืออย่างนั้น แต่เธอก็ไม่ทำ เป็นบทเรียนแลนง่ายลำหรับ มารดาที่จะเรียนรู้การให้เวลากับลูกๆ และไม่ทำให้เด็กมีอคติ คิดก่อนที่ท่านจะพูด…หาก ท่านตั้งใจจะให้ของขวัญแก่พวกเขา จงให้ หากท่านรับปากว่าจะลงโทษ จงรักษาคำพูด แต่ ต้องระมัดระวัง! (DBY, 210)
บิดามารดาไม่ควรบังคับลูกๆ ให้ทำบางสิ่งบางอย่าง แต่จูงใจเขา ให้ความรู้แก่เขาตราบที่ พวกเขาพร้อมจะรับมัน การลงโทษอาจจำเป็นหากได้รับการกระตุ้นเตือน แต่บิดามารดา ควรปกครองลูกๆ โดยศรัทธามากกว่าไม้เรียว นำพวกเขาสู่ความจริงและความศักดิ์สิทธิ์ ทั้งมวลด้วยความเมตตาโดยการเป็นตัวอย่างที่ดี (DBY, 208)
ข้าพเจ้าเข้าใจว่ามีชายเป็นจำนวนมากในที่ประชุมนี้ที่ขับไล่ลูกๆ ออกไปจากเขาโดยการ ใช้ไม้เรียว ที่ใดมีความรุนแรง ที่นั้นจะไม่มีความรักหรือความกตัญฌูในหัวใจของทั้งลูกๆ และบิดามารดา ลูกๆ ยอมไปจากพ่อดีกว่าจะอยู่กับเขา (DBY, 203)
ในธุรกิจประจำวันของชีวิต ไม่ว่าจะรูปแบบใดหรือประเภทใดก็ตาม สิทธิชนยุคสุดท้าย และโดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่ดำรงตำแหน่งสำคัญในอาณาจักรของพระผู้เป็นเจ้า ควรรักษา ความเสมอตันเสมอปลายและใจเย็น ทั้งยามที่อยู่ในบ้านและอยู่นอกบ้าน เขาต้องไม่ยอมให้ ความล้มเหลวและสภาพที่ไม่น่าพึงใจทำให้เขารู้สึกท้อแท้ จนต้องระบายความรู้สึกเบื่อ หน่ายและหงุดหงิดที่บ้าน พูดคำที่เต็มไปด้วยความรุนแรงและทำให้ผู้ฟังเจ็บปวด…สร้าง ความกลัดกลุ้มและเศร้าหมองในบ้านของเขา ทำให้ครอบครัวกลัวเขาแทนที่จะรักเขา เราไม่ควรยอมให้ความโกรธผุดชี้นในใจของเรา และไม่ควรเอ่ยคำพูดที่เกิดจากความรู้สึกโกรธออก จากปาก “คำตอบอ่อนหวานช่วยละลายความโกรธเกรี้ยวให้หายไป แต่คำกักขฬะเร้าโทละ” [สุภาษิต 15:1] “ความพิโรธก็ดุร้าย ความโกรธก็ท่วมท้น” [สุภาษิต 27:4] แต่ “สามัญลำนึก ที่ดีกระทำให้คนโกรธช้า และที่มองข้ามการทรยศไปเลียก็เป็นคักติ์ศรีแก่เขา” [สุภาษิต 19:11] (DBY, 203–4)
ท่านมอง ได้ยิน และเห็นกับตาถึงความขัดแย้งอย่างมากในบรรดาลูกๆ —บางคนเห็นแม้ จะไม่ทั้งหมด—และข้าพเจ้าจะพูดลักเล็กน้อยกับท่านเกี่ยวกับชีวิตอนาคตของท่านว่าท่าน จะมีลูกที่ไม่ชอบโต้เถียงหรือทะเลาะวิวาท ขั้นแรกคือจงเป็นคนที่มีจิตใจอ่อนโยนเสมอ อย่า ปล่อยให้ตัวเองเป็นคนเจ้าอารมณ์และหงุดหงิดง่าย.…เด็กๆ มีพลังแห่งชีวิตอย่างมากในตัว เขา ท่าให้กระดูกของเขาเต็มไปด้วยพลกำลัง พวกเขามีพลังแห่งชีวิต—ชีวิต กำลังและกิจกรรมที่เขาต้องจัดการ และเด็กๆ จะต่อสู้กัน อย่าอารมณ์เลีย เห็นอกเห็นใจและปลอบโยน พวกเขาเสมอ จงสุภาพอ่อนโยนและอารมณ์ดี (DBY, 209–10)
ข้าพเจ้าได้เรียนรู้จากประลบการณ์ของตนเองว่าความยากลำบากใหญ่หลวงที่มีอยู่ใน การทะเลาะวิวาทและการต่อสู้เล็กๆ น้อยๆ ของผู้ชายกับผู้ชาย ผู้หญิงกับผู้หญิง เด็กกับ เด็กบิดามารดากับลูกๆ พี่ชายกับน้องลาว และพี่ลาวกับน้องชาย เกิดจากการขาดความ เข้าใจอย่างถูกต้องซึ่งกันและกัน (DBY, 203)
ข้อแนะนำสำหรับการศึกษา
ครอบครัวเป็นสถาบันที่พระผู้เป็นเจ้าทรงจัดตั้งขึ้นในกาลเวลาและนิรันดร
-
ทำไมการผนึกครอบครัวสําหรับนิรันดรจึงเป็นสิ่งสำคัญ? (ดู ค.พ. 128:18) การเข้าใจ ความสำคัญนิรันดรและธรรมชาติที่เป็นมาจากสวรรค์ของความสัมพันธ์ในครอบครัวช่วย เราในการติดต่อกับสมาชีกครอบครัวอย่างไร?
-
ท่านจะทำอะไรได้บ้างเพี่อทำให้ลายสัมพันธ์ระหว่างรุ่นต่างๆ ในครอบครัวแน่นแฟันยิ่ง ขึ้น? การกระทำของท่านมีผลกระทบต่อบรรพบุรุษและลูกหลานของท่านอย่างไร?
บิดามารดาควรสอนลูกๆ ให้รักษาพระบัญญัติของพระผู้เป็นเจ้า
-
ใครมีความรับผิดชอบเบื้องต้นในการลอนลูกๆ? เมื่อใดที่บิดามารดาควรเริ่มลอนลูกๆ ให้ เป็นคนชอบธรรม? ประธานยังให้คำแนะนำอะไรแก่บิดามารดาเกี่ยวกับบทบาทของพวก เขาในฐานะครูคนแรกของลูก?
-
ประธานยังกล่าวว่าบิดามารดาควร “อบรมลูกๆ [ของเขา] ให้รักและเกรงกลัว [นับถือ] พระเจ้า” (ดู ค.พ. 68:25–28) ท่านจะลอนลูกให้รักและนับถือพระบิดาบนสวรรค์และ พระเยซูคริสต์ใต้อย่างไร?
-
ประธานยังอ้างถึงหลักธรรมใดเพื่อให้บิดามารดาสอนลูกๆ ของเขา? อะไรจะเกิดนี้นหาก บิดามารดาไม่สอนลูกอย่างถูกต้อง?
ขณะที่บิดามารดานำโดยตัวอย่างที่เหมาะสม เขาได้ช่วยจัดวาง วิถีที่ชอบธรรมแก’ครอบครัวของเขา
-
ทำไมตัวอย่างจึงเป็นวิธีที่ทรงพลังในการสอนลูกๆ? ท่านเป็นตัวอย่างแบบใดให้ลูกๆ ที่อยู่ รอบตัวท่าน?
-
ประธานยังกล่าวว่า เด็กๆ จะ “กลับคืนสู่แหล่งกำเนิดอีกครั้ง” ทำไมสัญญานี้จึงเป็นการ ปลอบโยนโดยเฉพาะกับบิดามารดาที่ลูกๆ ของเขาออกนอกลู่นอกทาง? บิดามารดา สามารถทำอะไรเพื่อช่วยให้ลูกๆ ที่ออกนอกลู่นอกทางต้องการกลับมาหาครอบครัวของเขา?
-
ท่านเรียนรู้มาตรฐานที่ดีอะไรจากบิดามารดาของท่าน? อะไรคือมาตรฐานบางอย่างที่ ท่านอยากให้ลูกๆ เรียนรู้จากท่าน? ท่านจะสอนลูกๆ ถึงมาตรฐานเหล่านี้ได้อย่างไร? ท่านมีหลักฐานอะไรที่แสดงว่าลูกๆ กำลังเรียนรู้มาตรฐานจากท่าน?
-
“ประเพณีที่แท้จริง” สามารถช่วยลูกๆ ของท่านให้ยอมรับความชอบธรรมมากนี้นได้ อย่างไร? ประเพณีที่ชอบธรรมอะไรช่วยเพิ่มความเข้มแข็งแก่ครอบครัวของท่าน? ท่าน อยากจัดประเพณีที่ชอบธรรมอะไรขึ้นในครอบครัว?
การควบคุมอารมณ์ตนเองและวินัยที่เกิดจากความเมตตา จะช่วยสร้างครอบครัวให้แข็งแกร่ง
-
อะไรคือความแตกต่างระหว่าง “การบังคับ” ลูกๆ กับ “การชักจูง” พวกเขา? ทำไมการ ชักจูงลูกๆ จึงมีประสิทธิภาพในการสอนความชอบธรรมมากกว่า?
-
ทำไม “การรักษาความเสมอตันเสมอปลาย และใจเย็น” จึงจำเป็นเมื่อติดต่อกับผู้อื่น โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับลูกๆ ?
-
บ่อยครั้งการทะเลาะวิวาทและการต่อสู้เป็นเรื่องธรรมดาของชีวิตครอบครัว ทำไมสิ่งเหล่า นี้จึงเป็นอันตรายต่อครอบครัว? (ดู โมไชยา 4:14) ประธานยังพูดว่าอะไรคือเหตุผล เบื้องตันที่สิ่งเหล่านี้เกิดนี้น? ท่านสามารถล่งเสริมการติดต่อสื่อสารและความเข้าใจภาย ในครอบครัวของท่านให้ดีนี้นได้อย่างไร? สิ่งใดบ้างที่ท่านทำไปแล้วและสามารถช่วยให้ ครอบครัวแสดงความรักต่อกันบ่อยมากนี้น?