คำสอนของประธานศาสนจักร
บทที่ 11: ดำเนินชีวิตอย่างมัธยัสถ์: ประยุกต์ใช้ หลักธรรมแห่งการพึ่งพาตนเอง และการเตรียมพร้อม


บทที่ 11

ดำเนินชีวิตอย่างมัธยัสถ์: ประยุกต์ใช้ หลักธรรมแห่งการพึ่งพาตนเอง และการเตรียมพร้อม

การดำเนินชีวิตอย่างมัธยัสถ์และฉลาดคือรูปแบบชีวิต ที่สร้างอุปนิสัยและเพิ่มความผาสุกทางโลก ทางสังคม ทางอารมณ์ และทางวิญญาณ

จากชีวิตฃองสเป็นเซอร์ ดับเบิลยู. คิมบัลล์

สมัยเป็นคู่สามีภรรยาที่อายุยังน้อย สเป็ีนเซอร์ ดับเปิดยู. คิมบัลล์และ คามิิลลาภรรยา “รู้ว่าพวกท่านไม่รํ่ารวย แต่พวกท่านมีงานทำและมีความ สามารถ พวกท่านรู้วิธีบริหารเงิน ดำเนินชีวิตตามรายได้ และเก็บออมสำหรับ อนาคต”1

ครอบครัวคิมบัลล์ผ่านพ้นช่วงที่ปัญหาเศรษฐกิจลุกลามไปทั่ว—สงครามโลก ครั้งที่ 1 (1914–1918)—ช่วงเศรษฐกิจตกตํ่าครั้งใหญ่ (1929–1939) และ สงครามโลกครั้งที่สอง (1939–1945) โดยที่เคยประสบการท้าทายเหล่านี้ ประ ธานคิมบัลล์จึงสรุปว่า “สิ่งที่ข้าพเจ้าเคยเห็นด้วยตาตนเองทำให้ข้าพเจ้าเกรงว่า ตนจะไม่ทำสิ่งที่ทำได้เพื่อป้องกันภัยพิป้ติ”2

ท่ามกลางสิ่งที่ท่านเห็นคือการดิ้นรนของผู้อื่น “ตลอดชีวิตข้าพเจ้านับจากวัย เด็ก ข้าพเจ้าได้ยินเจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่กล่าวว่า ‘อย่าเป็นหนี้และจงอยู่อย่างไม่มี หนี้’ ข้าพเจ้าเป็นลูกจ้างธนาคารมานานพอสมควรและเห็นหลายคนตกที่นั่งลำ บากเพราะเขาเพิกเฉยต่อดำแนะนำที่สำคัญดังกล่าว”

นอกจากงานธนาคารแล้ว สเป็นเซอร์ยังทำบัญชีให้ร้านค้าบางแห่งในท้องที่ ด้วย “เรื่องน่าตกใจเรื่องหนึ่งในชีวิตข้าพเจ้าคือเมื่อเห็นจำนวนตัวเลขในสมุด บัญชีของคนหลายคนในชุมชนที่ข้าพเจ้ารู้จัก ข้าพเจ้ารู้จักพวกเขา ข้าพเจ้าทราบ คร่าวๆ ว่าพวกเขามีรายได้เท่าใด แล้วก็เห็นพวกเขาใช้จนหมด อีกนัยหนึ่งคือ ข้าพเจ้าเห็นพวกเขาซื้อเซื้อผ้า รองเท้า และทุกสิ่งที่พวกเขามี ‘ด้วยเงินผ่อน’

“และข้าพเจ้าพบว่าหน้าที่ของข้าพเจ้าดือทำใบเสร็จให้พวกเขาตอนปลาย เดือน หลายคนจ่ายไม่ได้ตอนปลายเดือน พวกเขาจ่ายไม่ได้แน้แต่ค่างวดที่จัด ไว้ ข้าพเจ้าเติบโตในบ้านที่จัดสรรเงินอย่างดีจึงไม่อาจเข้าใจเรื่องนี้ได้ ข้าพเจ้า เข้าใจว่าเราซื้อบ้านด้วยเงินผ่อนได้หรืออาจจะซื้อรถยนต์ด้วยเงินผ่อน แต่ข้าพเจ้าไม่เข้าใจเลยว่าคนเราจะสวมเสื้อผ้าที่ไม่ใช่ของเรา หรือกินอาหารที่ซื้อมา ‘ด้วยเงินผ่อน ได้อย่างไร”3

ในคำสอนของประธานคิมบัลล์ ท่านไม่เพียงกล่าวถึงปัญหาการเงินเท่านั้นแต่ เรื่องอื่นๆ เกี่ยวกับการดำเนินชีวิตอย่างมัธยัสถ์ด้วย เช่น ความรับผิดชอบส่วน ตัว การทำงาน การผลิตอาหารและการสะสมในบ้าน ท่านกล่าวว่า “ขอให้เรา ปฏิบัติหลักธรรมแห่งการเตรียมพร้อมส่วนตัวและครอบครัวในชีวิตประจำวัน ของเรา ‘หากเจ้าพร้อมเจ้าจะไม่กลัว’ (ค.พ. 38:30)”4

คำสอนของสเป็นเซอร์ ดับเบิลยู. คิมบัลล์

เรารับผิดชอบความผาสุกทางสังคม อารมณ์ วิญญาณ ร่างกาย และเศรษฐกิจของเราเอง

ศาสนาจักรและสมาชิกได้รับบัญชาจากพระเจ้าให้พึ่งพาตนเองและไม่พึ่งใคร (ดู ค.พ 78:13–14)

ความรับผิดชอบต่อความผาสุกทางสังคม อารมณ์ วิญญาณ ร่างกาย หรือ เศรษฐกิจตกอยู่กับเขาเป็นอันดับแรก อันตับสองดือครอบครัว อันตับสามคือ ศาสนาจักรถ้าเขาเป็นสมาชิกที่ฆื่อสัตย์

ไม่มีสิทธิชนยุคสุดท้ายที่แห้จริงคนใคมีเจตนาปัดภาระในการดูแลความผาสุก ของตนเองหรือครอบครัวไปให้ผู้อื่นทั้งที่สภาพร่างกายหรืออารมณ์สมบูรณ์ดี ตราบที่เขาทำได้ ภายใด้การดลใจของพระเจ้าและด้วยการทำงานของเขา เขา จะจัดหาสิ่งจำเป็นของชีวิตทั้งทางโลกและทางวิญญาณให้ตนเองและครอบครัว (ดู 1 ทิโมธี 5:8)5

เมื่อเราเดินทางไปเยี่ยมผู้คนทั่วโลก เราตระหนักในความด้องการทางโลกของ ผู้คนของเรา และเมื่อเราปรารถนาจะช่วยพวกเขา เราทราบดีถึงความสำคัญอย่าง ยิ่งยวดของการเรียนรู้บทเรียนอันสำคัญนี้ นั่นดือ การบรรลุความเข้มแข็งทาง วิญญาณขั้นสูงสุดเกิดขึ้นเมื่อเราเอาชนะเนื้อหนัง เราสร้างอุปนิสัยเมื่อเราสนับ สนุนผู้คนให้ดูแลความต้องการของตนเอง6

แม้จะใช้หลักปรัญชา ข้อแก้ตัว หรือข้ออ้างมากกว่านี้ก็ไม่สามารถเปลี่ยน ความต้องการพื้นฐานของการพึ่งพาตนเองไต้ ที่เป็นเช่นนั้นเพราะ

“ความจริงทั้งมวลเป็นอิสระอยู่ในภพนั้น ซึ่งในนั้นพระผู้เป็นเจ้าทรงวางมัน ไว้…ตังความรู้แจ้งทั้งมวลด้วย มิฉะนั้นก็ไม่มีความเป็นอยู่” (ค.พ. 93:30) พระเจ้าทรงประกาศว่านี่แหละ “อำเภอใจของมนุษย์” (ดู ค.พ. 93:31) และ ด้วยสิทธึ้เสรีนี้ความรับผิดชอบด้วยตนเองจึงมีมา ด้วยสิทธี์เสรีนี้เราจึงสามารถ ขึ้นสู่รัศมีภาพได้หรือไม่ก็ตกไปสู่การกล่าวโทษ ขอให้เราทั้งส่วนตัวและส่วนรวม พึ่งพาตนเองเสมอ นี่คือสิ่งที่เราสอนสืบต่อกันมาและเปีนภาระหน้าที่ของเรา7

เราเน้นมามากพอสมควรเกี่ยวกับการเตรียมพร้อมส่วนตัวและครอบครัว ข้าพเจ้าหวังว่าสมาชิกแต่ละคนของศาสนาจักรจะตอบรับคำแนะมำนี้อย่างเหมาะ สม ข้าพเจ้าหวังด้วยว่าเราจะเข้าใจและเน้นต้านบวกไม่ใช่ต้านลบ ข้าพเจ้าชอบ วิธีที่สมาคมสงเคราะห์สอนว่าการเตรียมพร้อมส่วนตัวและครอบครัวคือ “การ ดำเนินชีวิตอย่างมัธยัสถ์” คำแนะนำนี้บอกเป็นนัยถึงการใช้ทรัพยากรของเรา อย่างประหยัด การวางแผนเรื่องเงินอย่างฉลาด การเตรียมพร้อมเต็มที่ด้านสุขภาพของตนเอง และการเตรียมที่เพียงพอสำหรับการคืกษาและการพัฒนาอาชีพ การให้ความสนใจที่เหมาะสมต่อการผลิต [อาหาร] และการสะสมในบ้านเช่น เดียวกับการพัฒนาความมั่นคงทางอารมณ์8

เราได้รับคำแนะนำให้มีส่วนในการผลิตอาหาร และการสะสมในห้าน

พระเจ้าทรงสนับสนุนผู้คนของพระองค์ไห้เก็บออมไว้ยามยาก เตรียมพร้อม ยามลำบาก และมีสำรองยามคับขัน เตรียมสิ่งจำเบ็ีนพื้นฐานสำหรับหนึ่งปีหรือ มากกว่านั้นเผื่อว่าเมื่อเกิดนํ้าท่วม แผ่นดินไหว ความอดอยาก เฮอร้รเคน มรสุม ชีวิต ครอบครัวเราจะไม่ลำบากในยามมืดมนเช่นนั้น9

เราขอให้ท่านปลูกพืชผักทุกชนิดเท่าที่ทำไต้บนที่ดินของท่าน พุ่มเบอร้เ เถา องุ่น ผลไม้—ปลูกไว้อ้าสภาพอากาศเหมาะแก่การเจริญเติบโต ปลูกผักและรับ ประทานผักจากสวนของท่าน แม้ผู้ที่อยู่ในอพาร์ท์เมนท์หรือคอนโดมิเนียมก็ สามารถปลูกพืชผักเล็กๆ น้อยๆ ใส่กระถาง จงสืกษาวิธีที่ดีที่สุดในการจัดหา อาหารของท่านเอง จัดสวนให้เป็นระเบียบเรียบร้อย งามตา และผลิดอกออก ผล ถ้ามีบุตรหลานในบ้าน จงมอบความรับผิดชอบใบ้พวกเขามีส่วนในงานเหล่า นี้10

ข้าพเจ้าหวังว่าเราจะเข้าใจ แม้บ่อยครั้งการมีสวน… จะช่วยลดค่าใช้จ่ายเรื่อง อาหาร มีผลใบ้และผักสดอร่อยๆ ไว้รับประทาน แด่ประโยชน์ที่ได้มีมากกว่า นั้น ใครเลยจะคาดเดาได้ถึงคุณค่าของการพูดคุยกันเปีนพิเศษระหว่างบุตรสาว กับบิดาขณะถอนวัชพืชหรือรดนํ้าสวน เราประเมินประโยชน์จากบทเรียนที่เห็น เด่นชัดของการเพาะปลูกและกฎนิรันดร์ของการเก็บเกี่ยวอย่างไร เราวัดผลของ การที่ครอบครัวมารวมกัน ร่วมแรงร่วมใจกันควบคู่กับการบรรชุอาหารลงกระป๋อง อย่างไร แน่นอน เรากำลังสะสมทรัพยากรไว้ในคลัง แค่ประโยชน์ที่มากกว่านั้น อาจอยู่ในบทเรียนแห่งชีวิตที่เราเรียนรู้ขณะ ดำเนินชีวิตอย่างมัธยัสถ์ ก็เป็ีนได้11

เราขอใบ้ครอบครัวมีเสบียงหนึ่งป็ีอยู่ในบ้าน และเราพูดเรื่องนี้หลายต่อหลาย ครั้งและกล่าวข้อพระคัมภีร์ของพระเจ้าซํ้าหลายครั้งซึ่งพระองค์ตรัสว่า “เหตุ ไฉนท่านทั้งหลายจึงเรียกเราว่า พระองค์เจ้าข้า พระองค์เจ้าข้าแต่ไม่กระทำตาม ที่เราบอกนั้น” [ลูกา 6:46] จะไร้ประโยชน์เพียงใดเมื่อพวกเขาเปลี่ยนสิ่งที่เรียก กันว่าความเข้มแข็งทางวิญญาณเป็็นการกระทำและเรียกพระองค์ด้วยพระนามที่ สำคัญ แต่ไม่กระทำตามที่พระองค์รับสั่ง12

เมื่อเรามั่งคั่งขึ้นและเงินในบัญชีธนาคารเพิ่มขึ้น ความรู้สืกมั่นคงย่อมเกิดขึ้น และบางครั้งเรารู้สืกว่าเราไม่จำเป็็นต้องมีเสบียงกรังที่เจ้าหน้าที่ชั้นผู้ใหญ่แนะนำ

… เราต้องจำไว้ว่าสถานการณ์ต่างๆ เปลี่ยนแปลงได้และเราหรือผู้อื่นจะเห็นคุณ ค่าอย่างมากของสิ่งจำเป็็นพื้นฐานที่เก็บไว้เป็็นเสบียงกรังหนึ่งป็ี ด้วยเหตุนี้ทางที่ ดีเราควรพิงสิ่งที่บอกเราและทำตามอย่างเคร่งครัด13

เราควรทำงานแลกกับสิ่งที่เราได้รับ

เกี่ยวกับชีวิตทุกชั้นตอนของเรา ข้าพเจ้าเชื่อว่ามนุษย์ควรช่วยตนเอง เขาควร ไถหว่าน เพาะปลูก เก็บเกี่ยว และไม่คาดหวังว่าศรัทธาของเขาจะทำให้เขามี ขนมป้ง14

การทำงานคือความจำเป็็นทางวิญญาณเช่นเดียวกับความจำเป็็นทางเศรษฐกิจ15

การทำงานนำมาซึ่งความสุข ความนับถือตนเอง และความรุ่งเรือง คือหน ทางแห่งความสำเร็จทั้งมวล อยู่ตรงข้ามกับความเกียจคร้าน เราได้รับบัญชาให้ ทำงาน (ดู ปฐมกาล 3:19) ความพยายามเพื่อให้ได้ความผาอุกทางโลก ทาง สังคม อารมณ์ หรือวิญญาณด้วยเงินสงเคราะห์ถือเป็็นการฟ่้าฝืนพระบัญชาที่ว่า เราควรทำงานแลกกับสิงที่เราได้รับ16

บ่อยเหลือเกินที่เราจำไม่ได้ว่าโดยพื้นฐานแลวความช่วยเหลือด้านสวัสดิการ ของศาสนาจักรเป็็นเรื่องของแก่นแท้ทางวิญญาณและรากทางวิญญาณเหล่านี้จะ เที่ยวเฉาถ้าเรายอมให้สิงหนึ่งสิงใด เช่นปรัชญาของการได้เปล่า เข้ามาสู่การดำ เนินงานรับใช้ด้านสวัสดิการของเรา ทุกคนที่ได้รับความช่วยเหลือสามารถทำบาง สิงได้ ขอให้เราทำตามระเบียบของศาสนาจักรในเรื่องนี้และแนใจว่าทุกคนที่ได้ รับจะทำบางสิงตอบแทน ขอให้เราระวังอย่ายอมรับสิงทางโลกแทนแผนดูแลคน ยากจนในวิธีของพระ เจ้า17

วิธีของพระเจ้าสร้างความนับถือตนเอง พัฒนา และรักษาศักศิ์ศรืของแต่ละ บุคคล ล่วนวิธีของโลกทำให้แต่ละบุคคลดูถูกตนเองและก่อให้เกิดความแด้น เคืองอยู่ลืกๆ

วิธีของพระเจ้าทำให้แต่ละบุคคลเร่งความพยายามเพื่อพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจอีกครั้ง แม้จะยังต้องการความช่วยเหลือชั่วครั้งชั่วคราวเพราะสถานการณ์พิเศษบางอย่าง วิธีของโลกทำให้แต่ละบุคคลฝังลึกอยู่กับการพึ่งโครงการสวัสดิการและมักทำให้เขาเรียกร้องมากขึ้นแทนที่จะกระตุ้นเขาให้หันไปพึ่งพาตนเอง ทางเศรษฐกิจ

วิธีของพระเจ้าช่วยให้สมาชิกของเราไค้รับประจักษ์พยานต้วยตนเองเกี่ยวกับ พระกิตติคุณแห่งการทำงาน เพราะการทำงานสำคัญต่อความสุขของมนุษย์เช่น เดียวกับอัตราการผลิต แต่วิธีของโลกเน้นมากขึ้นทุกวันให้อยู่ว่างๆ และหลีก เลี่ยงการทำงาน18

การทำงานเป็็นเรื่องถูกต้อง ชายหญิงและเด็กทุกคนควรทำงาน แม้แต่เด็ก เล็กๆ ก็ควรเรียนรู้การมีส่วนร่วม ช่วยทำงานบ้านและงานในสวน ปลูกผัก ปลูก ต้นไม้ เก็บผลไม้ และทำทุกอย่างที่จำเป็็นต้องทำเพราะงานเหล่านั้นจะสร้าง บุคคลที่แข็งแกร่ง สร้างศรัทธาและอุปนิสัยของเขา

เราต้องการให้บิดามารดาอย่างท่านสร้างสรรค์งานให้ลูกๆ ทำ ยืนกรานให้เขา เรียนหนังสือในโรงเรียน อย่าปล่อยให้เขาเล่นตลอดเวลา มีเวลาเล่น มีเวลาทำ งาน และมีเวลาสืกษา จงแน่ใจว่าบุตรหลานของท่านเติบโตตามครรลองที่ถูกที่ ควร19

การทำงานควรเป็็นหลักธรรมปกครองชีวิตสมาชิกศาสนาจักรของเรา (ดู ค.พ. 42:42; 75:29; 68:30–32; 56:17)20

เราพึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจได้โดยเก็บออม หลีกเลี่ยงหนี้สิน และดำเนินชีวิตตามรายได้ของเรา

ท่านพร้อมและเตรียมรับมือกับความตาย ความเจ็บป่วย ความเจ็บป่วยเรื้อรัง และความทุพพลภาพของผู้หาเลี้ยงครอบครัวหรือไม่ ท่านจะอยู่ได้นานเท่าใดถ้า รายได้หยุดชะงัก ท่านเก็บสำรองอะไรไว้บ้าง ท่านจะจ่ายค่าบ้าน ค่ารถยนต์ เครื่องมือทำมาหากิน และเครื่องใช้ต่างๆ ได้นานเท่าใด …

ปฏิกิริยาแรกคือ เราทำไม่ได้แน่ เราแทบจะเอาตัวไม่รอดแห้จะใช้รายได้ทุก บาททุกสตางค์ในแต่ละเดือน… ถ้าท่านแทบจะเอาตัวไม่รอดทั้งที่มีรายไต้เพิ่ม ขึ้นทุกวัน มีงานที่ดีทำ และเก็บเกี่ยวได้ผลดี หนุ่มสาวทั้งหลาย ท่านจะเผชิญ ภาวะคับขันเมื่อถูกตัดค่าจ้าง เกิดความเจ็บป่วยและป้ญหาที่ไม่คาดคิดอื่นๆ ได้ อย่างไร21

ท่านด้องไม่ใช้ทั้งหมดที่หาได้ เงินด้องถูกกันไว้สำหรับงานเผยแผ่และการศืก ษาของลูกๆ พวกเขาสามารถทำหน้าที่รับผิดชอบและงานเล็กๆ น้อยๆ ไค้เพื่อ เขาจะช่วยหามาเพิ่มเติมแทนที่จะใช้เงินสะสมที่มีอยู่เพียงเล็กน้อย พวกเขาจะ เก็บออมเพื่อจุดประสงค์ที่ยอดเยี่ยมเหล่านี้ นั่นอาจหมายความว่าวันนี้บิดามารดา จะไม่มีสิ่งของมากมายที่เขาอยากไค้ แต่พรุ่งนี้จะไค้เก็บเกี่ยว22

จงหลีกเลี่ยงหนี้สิน … ทุกวันนี้ดูเหมือนทุกสิ่งกำลังชักนำให้เป็นหนี้ “ใช้ บัตรเครดิตสิ แล้วซื้อของทุกอย่างด้วยเงินผ่อน” ท่านไค้รับการสนับสนุนให้ทำ เช่นนั้น แต่ความจริงคือ เรา ไม่ ค้องการให้มีชีวิตเช่นนั้น23

เราสงสัยว่าผู้คนของเราที่จ่ายจนหมดและจ่ายมากกว่านั้นจะทำอะไร ถ้าค่าจ้าง และรายไค้ลดลง จะเป็็นอย่างไร ท่านกำลังดำเนินชีวิตเกินรายไค้หรือไม่ ท่าน เป็็นเจ้าของสิ่งที่ท่านจ่ายให้ไม่ไค้เมื่อถึงคราวเดือดร้อนหรือไม่ ท่านมีสำรองหรือ ไม่ถ้าเกิดเหตุการณ์เลวร้าย24

แผนและการทำงานในวิธีนี้จะอำนวยให้ท่านมีความสุขแม้เมื่อท่านไม่มีของ บางอย่างเหมือนที่เคยมีในยามมั่งคั่ง จงดำเนินชีวิตตามรายไค้และไม่เกินรายไค้ … ซื้อสิ่งจำเป็็นอย่างฉลาดและรอบคอบ พยายามเก็บออมส่วนหนึ่งของที่ท่าน หาไต้ อย่าเช้าใจผิดคิดว่าความต้องการมากมายของท่านคือความจำเป็็นพื้นฐาน25

ขอให้เราแต่ละคน ครอบครัว วอร์ด และสเตคเรียนรู้ที่จะดำเนินชีวิตตาม รายไต้ มีช้อดีและความรอดในหลักธรรมดังกล่าว บางคนพูดว่าความมั่งคั่งของ เราเพิ่มขึ้นเมื่อเราอยู่ใค้โดยไม่ค้องมีของบางอย่าง ในฐานะครอบครัวและศาสนา จักร เราสามารถจัดหาและควรจัดหาสิ่ง จำเป็นจริงๆ ให้คนของเรา แต่เราต้อง ระวังอย่าจัดหาสิ่งที่อยู่นอกเหนือความจำเป็็นหรือเพื่อจุดประสงค์อื่นซึ่งไม่เกี่ยว ช้องโดยตรงกับความผาสุกของครอบครัวและพันธกิจพื้นฐานของศาสนาจักร26

การเตรียมพร้อมคือทางแห่งชีวิตที่มีรางวัลอยู่ในตัว

เมื่อกระทำอย่างถูกต้อง การเตรียมพร้อมคือทางแห่งชีวิต ไม่ใช่โปรแกรมที่ เกิดขึ้นอย่างกะทันหันและน่าตื่นตาตื่นใจ27

เราอาจพูดถึงองค์ประกอบทั้งหมดของการเตรียมพร้อมส่วนตัวและครอบครัว ไม่เกี่ยวกับการทำลายล้างครั้งใหญ่หรือภัยพิบัติ แต่เกี่ยวกับการปลูกฟ้งรูปแบบ ชีวิตที่มีรางวัลอยู่ในตัวเมื่อทำทุกวัน

ขอให้เราทำสิ่งเหล่านี้เพราะมันถูกต้อง เพราะมันน่าพอใจ และเพราะเราเชื่อ ฟ้งคำแนะนำของพระเจ้า ค้วยสำนึกนี้เราจะพร้อมรับเหตุการณ์ส่วนใหญ่ที่อาจ เกิดขึ้น และพระเจ้าจะทรงทำให้เรารุ่งเรืองและปลอบโยนเรา แน่นอนว่าช่วง เวลาของความทุกข์ยากจะเกิดขึ้น—เพราะพระเจ้าทรงบอกไว้ล่วงหน้า—และ สเตคแห่งไซอันมีไว้ “เพื่อการป้องกันและเพื่อเป็นที่พักพิงจากพายุ” (ค.พ. 115:6) แต่ถ้าเราดำเนินชีวิตอย่างฉลาดและมัธยัสถ์ เราจะปลอดภัยเหมือนอยู่ ในอุ้งพระหัตถ์พระองค์28

ฃ้อเสนอแนะเพื่อศืกษาและสอน

พิจารณาแนวคิดต่อไปนี้ขณะสืกษาบทเรียนหรือขณะเตรียมสอน ดูความช่วย เหลือเพิ่มเติมไค้ที่หน้า ⅴ–ⅸ

  • โดยรู้ว่าชีวิตเราเกี่ยวข้องกับครอบครัว มิตรสหาย ศาสนาจักร และชุมชน ท่านคิดว่าการพึ่งพาตนเองและไม่พึ่งใครหมายถึงอะไร (ดู หน้า 125–126)

  • ประธานคิมมัลถ์สอนว่า “ความผาสุกทางสังคม อารมณ์ วิญญาณ ร่างกาย [และ] เศรษฐกิจ” คือส่วนประกอบของการดำเนินชีวิตอย่างมัธยัสถ์ (หน้า 125) ความผาสุกทางวิญญาณเกี่ยวข้องกับส่วนประกอบอื่นอย่างไร

  • ขณะสืกษาหัวข้อที่เริ่มต้นในหน้า 126 จงตรึกตรองว่าท่านพร้อมเพียงใดสำ หรับ “มรสุมชีวิต” เราจะพร้อมมากขึ้นไต้อย่างไร

  • นอกจากจะให้อาหารแล้วสวนยังให้ประโยชน์อะไรอีกบ้างแก่ครอบครัว (ดู หน้า 127)

  • ประธานคิมมัลถ์กล่าวว่า “การทำงานคือความจำเป็นทางวิญญาณ” (หน้า 127) ท่านไค้ประโยชน์ทางวิญญาณอะไรบ้างจากการทำงาน เราจะช่วยให้ ลูกๆ เรียนรู้ความสำคัญของงานไค้อย่างไร

  • ท่านคิดว่าอะไรคือความแตกต่างระหว่างความค้องการกับความจำเป็น เจตคติเช่นไรช่วยให้เราจัดการกับความต้องการไค้ (ดูตัวอย่างหน้า 129–130 และเรื่องราวในหน้า 124–125) การจัดงบประมาณมีประโยชน์อย่างไรบ้าง อะไรจะช่วยนำทางเราในการจัดสรรทรัพยากรของเรา

  • อ่านหัวข้อที่เริ่มค้นในหน้า 130 การเตรียมพร้อมมีรางวัลให้ทุกวันในทางใด

ข้อพระคัมภีร์ที่เกี่ยวข้อง: ปฐมกาล 41:14–57; 2 นีไฟ 5:17; ค.พ. 29:8–11

อ้างอิง

  1. Edward L. Kimball and Andrew E. Kimball Jr., Spencer W. Kimball (1977), 99.

  2. The Teachings of Spencer W. Kimball, ed. Edward L. Kimball (1982), 372.

  3. ใน Conference Report, Apr. 1975, 166–67.

  4. ใน Conference Report, Oct. 1978, 114; หรือ Ensign, Nov. 1978, 75.

  5. ใน Conference Report, Oct. 1977, 124; หรือ Ensign, Nov. 1977, 77–78.

  6. ใน Conference Report, Oct. 1977, 123; หรือ Ensign, Nov. 1977, 77.

  7. ใน Conference Report, Apr. 1978, 120; หรือ Ensign, May 1978, 79.

  8. ใน Conference Report, Oct. 1977, 125; หรือ Ensign, Nov. 1977, 78.

  9. The Teachings of Spencer W. Kimball, 374.

  10. ใน Conference Report, Apr. 1976, 170–71; หรือ Ensign, May 1976, 124.

  11. ใน Conference Report, Oct. 1977, 125; หรือ Ensign, Nov. 1977, 78.

  12. ใน Conference Report, Apr. 1976, 171; หรือ Ensign, May 1976, 125.

  13. ใน Conference Report, Apr. 1976, 170; หรือ Ensign, May 1976, 124.

  14. The Teachings of Spencer W. Kimball, 370.

  15. ใน Conference Report, Apr. 1981, 107; หรือ Ensign, May 1981, 80.

  16. ใน Conference Report, Oct. 1977, 124; หรือ Ensign, Nov. 1977, 77.

  17. ใน Conference Report, Apr. 1978, 119–20; หรือ Ensign, May 1978, 79.

  18. ใน Conference Report, Apr. 1976, 172; หรือ Ensign, May 1976, 125.

  19. The Teachings of Spencer W. Kimball, 360–61.

  20. ใน Conference Report, Oct. 1977, 124; หรือ Ensign, Nov. 1977, 77.

  21. The Teachings of Spencer W. Kimball, 372.

  22. The Teachings of Spencer W. Kimball, 371–72.

  23. ใน Conference Report, Apr. 1976, 171; หรือ Ensign, May 1976, 125.

  24. ใน Conference Report, Oct. 1974, 7; หรือ Ensign, Nov. 1974, 7.

  25. ใน Conference Report, Apr. 1981, 107, 108; หรือ Ensign, May 1981, 80.

  26. ใน Conference Report, Apr. 1981, 63; หรือ Ensign, May 1981, 46.

  27. Regional representatives’ seminar, Sept. 30, 1976, Archives of The Church of Jesus Christ of Latter-day Saints, 8.

  28. ใน Conference Report, Oct. 1977, 125–26; หรือ Ensign, Nov. 1977, 78.

ภาพ
family gardening

“ขอให้เราปฎิบัตัหลักธรรมเเห่งการเตรียร้อมส่วนตัวเเละครอบครัวในชิวิตประจําวันของเรา”

ภาพ
father and son fixing engine

“การทำงานนํามาชึ่งความสุข ความนััมถึอตนาคเอง และความรุ่งเรือง คือหนทางเเห่งความสํัาเร็จทั้งมวล อยู่ตรงข้ามกัขความเกียจคร้าน”

พิมพ์